“คิดบวก คิดสร้างสรรค์”

“คิดบวก คิดสร้างสรรค์”
 ผู้บันทึก :  นางจิราภรณ์ กาญจนะ
  กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาสุขภาพจิตและจิตเวช
  ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 22 ธ.ค. 2554   ถึงวันที่  : 23 ธ.ค. 2554
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : 
  จังหวัด :  นนทบุรี
  เรื่อง/หลักสูตร :  “คิดบวก คิดสร้างสรรค์”
  วันที่บันทึก  10 ม.ค. 2555


 รายละเอียด
 

๑.สาระสำคัญเพื่อสำรวจและเสริมสร้างความสามารถในการคิดสร้างสรรค์

โดยดร.นพ.ยุทธนา ภาระนันท์

๒.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยสร้างคุณค่าที่แตกต่าง ได้อย่างไร

๓.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยสร้างภาวะหยุ่นตัวทางความคิด ฝ่าวิกฤตเชิงบวกได้

อย่างไร

๔.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยคิดสิ่งใหม่ๆได้โดยไม่ยาก ได้อย่างไร

๕.สาระสำคัญเพื่อสำรวจและเสริมสร้างความสามารถในการคิดเชิงบวก ทัศนคติเชิงบวกในการทำงาน

๖.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยปรับเปลี่ยนทัศนคติเป็นเชิงบวก ได้อย่างไร

๗.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยพัฒนาตนเอง เปิดใจเรียนรู้ด้วยมุมมองการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ได้อย่างไร

๘.ปฏิบัติการทักษะเชิงจิตวิทยาช่วยเสริมสร้างความสุข สนุกกับงาน ได้อย่างไร

กระบวนการฝึกอบรมสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงบวก ต้องคำนึงขีดความสามารถเดิม คือทักษะ ความรู้ พฤติกรรม ทัศนคติ อารมณ์ แรงปรารถนา วิธีคิด ค่านิยม และการตระหนักรู้ ขีดความสามารถใหม่ คือ เก่งสื่อสาร เก่งบริหารตนเอง เก่งทีม เก่งคิดแก้ปัญหา ซึ่งต้องใช้วิธี ๑.เชื่อมใจ ๒.เข้าใจ ๓.เปลี่ยนแปลงจิตใจ

ปัจจัยเอื้อต่อการพัฒนา (3R model) ความพร้อมของผู้เรียน : Readiness (การเข้าใจยอมรับ ความพร้อมที่จะเปลี่ยน การเข้าส่วนร่วม การสังเกตเรียนรู้ ความคาดหวังของผู้เรียน การตั้งเป้าหมาย การประยุกต์ใช้ความรู้) สัมพันธภาพต่อกัน :Relationship (การแลกเปลี่ยนความรู้สึกนึกคิดต่อกัน การช่วยเหลือกัน การรับฟังกัน) เทคนิค :Related technique (การฝึกเสมือนจริง สถานการณ์จำลอง ทักษะเชิงจิตวิทยา

บุคลิกคนคิดบวก(Positivethinking)

-เป็นศักยภาพ(Strength)ของบุคคลในการรับมือกับปัญหา ตลอดจนวิกฤตโดยอาศัยองค์ประกอบ ๔ ตัวย่อว่าHORSEคือ ความหวัง:Hopeมองโลกในแง่ดี:Optimismความหยุ่นตัว:Resilienceความเชื่อมั่นในสมรรถนะของตน:Self-Efficacy

-เป็นสิ่งที่วัดได้(Measurable)เฉพาะตัว(Unique) และพัฒนาได้(Developable)

-เป็นการประยุกต์ใช้จิตวิทยาเชิงบวกเพื่อเสริมสร้างให้เกิดเป็นพฤติกรรมองค์กรเชิงบวก(Positive organizationbehavior)

         โค้ชชึ่งCoaching)เป็น การสอนงาน ชี้แนะแนวทางเตือนสติเพื่อช่วยบุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม ทำให้เพิ่มผลการปฏิบัติงานได้อย่างตรงจุด และมีประสิทธิภาพวิธีการABC A-Appreciateพูดส่วนดีB-Behaviorระบุพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมC-Consequence&Careบอกผลกระทบและแสดงความห่วงใยD-Discussถามความเห็นเพื่อหาทางออก

ทักษะมองบวก ทำอย่างไร:OPTIM(ย่อจากOptimism)

Othersมีใครหรือแหล่งสนับสนุนอื่นๆที่พอช่วยได้บ้างPositive sideเรื่องนี้สอนอย่างไร มีอะไรดีซ่อนอยู่ ถ้าเปลี่ยนได้อยากให้เป็นอะไรTemporaryปัญหานี้เริ่มเมื่อใด คาดว่าจะจบลงเมื่อใดInhibit damageความเสียหายไม่มากไปกว่านี้อะไรที่ช่วยไว้Manageมีอะไรที่เหลืออยู่ จะนำมาใช้นำมาคลี่คลายปัญหาอย่างไรดี

The 7 Highly Effective People(7 Habits Plus)

1.Be Proactiveเป็นผู้ริเริ่มทำก่อน

2.End in mindเห็นตอนจบตั้งแต่เริ่มต้น

3.1st. things1st.ทำสิ่งที่สำคัญก่อน

4.Think win winคิดแบบชนะ ชนะ

5.Understandเข้าอกเข้าใจผู้อื่นก่อน

6.Synergizeผลึกพลังประสานความต่าง

7.Sharper sawหมั่นฝึกฝน มีวินัย

ทักษะคิดริเริ่มSCAMPERทำอย่างไร

1.Substituteทดแทน

2.Combineผสมผสาน

3.Adapt ปรับแต่ง

4.Modify,Magnityขยายขยับ

5.Purpose variationใช้ทำประโยชน์แบบอื่น

6.Eliminateตัดทอน

7.Reverseกลับทิศกลับทาง

ทักษะสร้างงานสร้างคุณค่านั้นทำอย่างไร:GOOD

G-Gainนึกถึงสิ่งดีๆที่ฉันได้รับO-Opportunityมองโอกาสที่ได้รับในอดีตO-Othersสังเกตความต้องการของผู้อื่นD-Doingลงมือทำดีช่วยเหลือ

ดนตรีบำบัดแบบ3 S(3S Music Therapy)ทำอย่างไร

Speak Outนึกตามแล้วตอบตัวเองเบาๆSelf talkพูดความตั้งใจของตนเองSpiritualtalkพูดปรึกษาเชื่อมโยงเบื้องบน

 

 

 

ทักษะหัวเราะบริหารสมอง(Brain GymLaughter):3 E

1.Exerciseทำท่าเพื่อเพิ่มจุดเชื่อมของเซลสมอง

2.Expressออกเสียงเพื่อกระตุ้นอวัยวะเสริมอารมณ์ทางบวกโดยเปล่งเสียง โฮ:ท้องฮา:อก

เฮ:ใบหน้า

3.Electจับคู่เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
๑.ได้เรียนรู้ทำความเข้าใจปรับเปลี่ยนแนวคิด วิธีการใหม่ๆในการก้าวสู่ความสำเร็จ

๒.ได้มีหลักการและวิธีการนำความคิดทางบวกคิดสร้างสรรค์ ไปใช้ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม

๓.ได้ช่วยเหลือเกื้อกูลทีมงานทั้งของตนเองและผู้อื่นสร้างความสามัคคีและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

๒.๒สอดแทรกหลักและวิธีการนำความคิดทางบวก คิดสร้างสรรค์ไปใช้ในในการเรียนการสอน

ราย วิชาที่รับผิดชอบเช่นวิชา จิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ พฤติกรรมมนุษย์ การสอนและให้คำปรึกษาทางสุขภาพและ การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต

 


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ จริยธรรม ความร่วมมือร่วมใจ  ใฝ่รู้สร้างสรรค์ และบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์

(623)

การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์”

การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์”
  ผู้บันทึก :  นางสาวภาวดี เหมทานนท์
  กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาสุขภาพจิตและจิตเวช
  ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 26 ส.ค. 2554   ถึงวันที่  : 28 ส.ค. 2554
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
  จังหวัด :  กรุงเทพมหานคร
  เรื่อง/หลักสูตร :  การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์”
  วันที่บันทึก  7 ก.ย. 2554


 รายละเอียด
การ พัฒนาวิชาการเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปงาน สาธารณสุข และเป็นการพัฒนาทั้งบุคลกรและหน่วยงาน โดยนักวิชาการทุกสายงานและทุกระดับต้องสร้างผลงานวิชาการที่มีคุณค่าและได้ มาตรฐาน รวมทั้งต้องมีการเผยแพร่ผลงานในวารสารที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้ผลงานนั้นมีความน่าเชื่อถือต่อการนำไปใช้ประโยชน์

                      สำนัก วิชาการสาธารณสุขได้เริ่มต้นขยายการให้บริการแก่บุคลากรสาธารณสุขและประชาชน ทั่วไป ให้สามารถเข้าถึงและค้นคว้างานวิจัย และบทความวิชาการของสำนักวิชาการสาธารณสุขทั้งในรูปแบบของบทคัดย่อ และเอกสารฉบับสมบูรณ์ โดยให้บริการในรูปของ E-service ผ่านทางระบบอิเล็คทรอนิคส์ไร้สาย โดยสามารถสืบค้นได้ที่เว็บไซด์ http://pubnet.moph.go.th/pubnet2 ประกอบกับขณะนี้วารสารวิชาการทางการแพทย์และสาธารณาสุขในประเทศไทยหลายฉบับ อยู่ในฐานข้อมูลเครือข่าย

               การประชุมครั้งนี้ เป็นการสมัครเป็นเครือข่าย เรียนรู้และทดลองใช้ระบบดังกล่าว คือการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ของระบบวารสาร OPEN JOURNAL SYSTEM (OJS) การที่เลือกใช้ระบบนี้เพราะ

                          -สามารถเพิ่ม visibility และเพิ่ม citation (เพิ่มโอกาสถูกเก็บเกี่ยวด้วย Google)

                          – Internationality at locality (รับรู้ในระดับนานาชาติ ในรูปบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คนไทยยังได้ใช้ประโยชน์ ในรูปบทความฉบับเต็มเป็นภาษาไทย)

                          – ค้นพบทุกอย่างที่อยู่ในรูปบทคัดย่อภาษาอังกฤษ

                          – ง่ายและค่าใช้จ่ายต่ำ

               ซึ่งขั้นตอนการอบรมจะเป็นการใช้โปรแกรมตามขั้นตอน จนกระทั่งได้รูปเล่มวารสารที่จะออนไลน์ได้


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
การจัดทำวารสารและใช้ในการปฏิบัติงาน

 

 


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?

(288)

การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์

การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์
 ผู้บันทึก :  นางสาวภาวดี เหมทานนท์
  กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาสุขภาพจิตและจิตเวช
  ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 26 ก.ค. 2554   ถึงวันที่  : 28 ก.ค. 2554
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
  จังหวัด :  กรุงเทพมหานคร
  เรื่อง/หลักสูตร :  การพัฒนาวารสารทางการแพทย์และสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและเป็นวารสารอิเล็คทรอนิคส์
  วันที่บันทึก  24 ส.ค. 2554


 รายละเอียด
      การ พัฒนาวิชาการเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการปฏิรูปงาน สาธารณสุข และเป็นการพัฒนาทั้งบุคลกรและหน่วยงาน โดยนักวิชาการทุกสายงานและทุกระดับต้องสร้างผลงานวิชาการที่มีคุณค่าและได้ มาตรฐาน รวมทั้งต้องมีการเผยแพร่ผลงานในวารสารที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้ผลงานนั้นมีความน่าเชื่อถือต่อการนำไปใช้ประโยชน์

      สำนัก วิชาการสาธารณสุขได้เริ่มต้นขยายการให้บริการแก่บุคลากรสาธารณสุขและประชาชน ทั่วไป ให้สามารถเข้าถึงและค้นคว้างานวิจัย และบทความวิชาการของสำนักวิชาการสาธารณสุขทั้งในรูปแบบของบทคัดย่อ และเอกสารฉบับสมบูรณ์ โดยให้บริการในรูปของ E-service ผ่านทางระบบอิเล็คทรอนิคส์ไร้สาย โดยสามารถสืบค้นได้ที่เว็บไซด์ http://pubnet.moph.go.th/pubnet2 ประกอบกับขณะนี้วารสารวิชาการทางการแพทย์และสาธารณาสุขในประเทศไทยหลายฉบับ อยู่ในฐานข้อมูลเครือข่าย

      การประชุมครั้งนี้ เป็นการสมัครเป็นเครือข่าย เรียนรู้และทดลองใช้ระบบดังกล่าว คือการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ของระบบวารสาร OPEN JOURNAL SYSTEM (OJS) การที่เลือกใช้ระบบนี้เพราะ

             -สามารถเพิ่ม visibility และเพิ่ม citation (เพิ่มโอกาสถูกเก็บเกี่ยวด้วย Google)

            – Internationality at locality (รับรู้ในระดับนานาชาติ ในรูปบทคัดย่อภาษาอังกฤษ คนไทยยังได้ใช้ประโยชน์ ในรูปบทความฉบับ

                    - ค้นพบทุกอย่างที่อยู่ในรูปบทคัดย่อภาษาอังกฤษ

                    - ง่ายและค่าใช้จ่ายต่ำ

      ซึ่งขั้นตอนการอบรมจะเป็นการใช้โปรแกรมตามขั้นตอน จนกระทั่งได้รูปเล่มวารสารที่จะออนไลน์ได้

 


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
การจัดทำวารสารและการใช้ในการปฏิบัติงาน


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?
 

(303)

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพข้อสอบและจัดทำข้อสอบรวบยอด ปีการศึกษา ๒๕๕๔

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพข้อสอบและจัดทำข้อสอบรวบยอด ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ผู้บันทึก :  นางจิราภรณ์ กาญจนะ
  กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาสุขภาพจิตและจิตเวช
  ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 27 ก.ค. 2554   ถึงวันที่  : 29 ก.ค. 2554
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : 
  จังหวัด :  ปทุมธานี
  เรื่อง/หลักสูตร :  ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพข้อสอบและจัดทำข้อสอบรวบยอด ปีการศึกษา ๒๕๕๔
  วันที่บันทึก  5 ส.ค. 2554


 รายละเอียด
๑.บรรยาย “สถิติที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อสอบ และแนวทางการพัฒนาข้อสอบ”

          ๒.จัด ทำข้อสอบวัดความรู้วิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช โดยพิจารณาข้อสอบรวบยอด ปีการศึกษา ๒๕๕๓ พิจารณาจากอำนาจจำแนก ความยากง่าย พิจารณาข้อสอบดีเข้าคลังข้อสอบของสบช. และจัดทำข้อสอบรวบยอด ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน ๒ ชุด ตาม Test blue print ของสภาการพยาบาล และวิพากษ์โดยวิทยากรกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม

 


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
ได้ ชุดข้อสอบรวบยอดหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิชาการพยาบาล ๘ รายวิชา และสถาบันพระบรมราชชนก จะดำเนินการให้วิทยาลัยสอบวัดความรู้ ทักษะวิชาชีพการพยาบาลของนักศึกษาก่อนสำเร็จการศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมสอบขึ้นทะเบียนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของสภาการพยาบาล ให้ผลสัมฤทธิ์ของการสอบผ่านเพิ่มขึ้น และนัดประชุมครั้งต่อไป เพื่อวิพากษ์ข้อสอบรวบยอดโดยผู้เชี่ยวชาญ และแก้ไขให้สมบูรณ์ ในวันที่ 24-26 สิหาคม 2554

 


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?

(323)

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการจักการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ในวิชาการพยาบาล ๖ รายวิชา ครั้งที่ ๓ ในรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ในโครงการพัฒนาการเรียนการสอนแบบบูรณาการและขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรเพื่อเพิ่มทักษะการดูแลสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanistic Health Care)

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการจักการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ในวิชาการพยาบาล ๖ รายวิชา ครั้งที่ ๓ ในรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ในโครงการพัฒนาการเรียนการสอนแบบบูรณาการและขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรเพื่อเพิ่มทักษะการดูแลสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanistic Health Care)
 ผู้บันทึก :  นางจิราภรณ์ กาญจนะ
  กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาสุขภาพจิตและจิตเวช
  ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 12 ก.ค. 2554   ถึงวันที่  : 14 ก.ค. 2554
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : 
  จังหวัด :  นนทบุรี
  เรื่อง/หลักสูตร :  ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนารูปแบบการจักการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ในวิชาการพยาบาล ๖ รายวิชา ครั้งที่ ๓ ในรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ในโครงการพัฒนาการเรียนการสอนแบบบูรณาการและขับเคลื่อนการใช้หลักสูตรเพื่อ เพิ่มทักษะการดูแลสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanistic Health Care)
  วันที่บันทึก  5 ส.ค. 2554


 รายละเอียด
๑.แผนการจัดการเรียนรู้ และการออกข้อสอบ ในรายวิชาการพยาบาล ๖ รายวิชาทางการพยาบาล

                     การบูรณาการการเรียนการสอน ต้องจัดกิจกรรมด้านการสอนสอดแทรกสาระความรู้อื่น และคุณธรรม จริยธรรมเหมือนเป็นชีวิตของผู้เรียน ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และนำไปใช้ในการแก้ปัญหา วิธีสอน เทคนิคที่เน้นผู้เรียนปฏิบัติจริง

           เหตุผลของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ

-ชีวิตจริงในศาสตร์หลากหลายไม่ใช่กลุ่มวิชาใดโดยเฉพาะ

-เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย

-ขจัดความซ้ำซ้อนของเนื้อหา

-เกิดการถ่ายโอนความรู้นำไปใช้ได้จริง

หลักสำคัญในการบูรณาการ

๑เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๒.จัดประสบการตรงให้กับผู้เรียน

๓.จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิด กล้าทำ

๔.ให้ผู้เรียนได้ร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม

แบบการสอนแบบบูรณาการ

๑.แบบสอดแทรก(Infusion)

๒.แบบคู่ขนาน (Parallel instruction)

๓.แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary instruction

๔.แบบเป็นคณะหรือเป็นทีม

๕.บูรณาการทักษะปฏิบัติ กับสาระการเรียนรู้

๖.บูรณาการความรู้

 

๒.จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และขอบเขตของรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต

           การประชุมครั้งที่ ๓ ได้ฟังบรรยาย “แผนการจัดการเรียนรู้ และการออกข้อสอบรายบท” ได้ประชุมกลุ่มย่อยจัดทำแผนการเรียนรู้และขอบเขตรายวิชาตามกรอบแนวคิดการ เรียนการสอนแบบบูรณาการในรายวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิตโดยวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รายวิชาเพื่อจัดทำผังข้อสอบ (Test specification) และสร้างข้อสอบรายวิชาเขียนรายละเอียดวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิตตามผังข้อสอบ   และจัดทำรูปเล่ม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญวิพากษ์ต่อไป

 


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
ได้ชุดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในวิชาการพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาทางจิต ไปใช้ในการเรียนการสอนในวิทยาลัย


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?

(355)