Depency Level in Performing Activities of Daily Living of the Elderly People

Depency Level in Performing Activities of Daily Living of the Elderly People

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

 

วันที่บันทึก :   28  พฤษภาคม 2557

ผู้บันทึก :   นายอาทิตย์  ภูมิสวัสดิ์

กลุ่มงาน :  ยุทธศาสตร์และแผนงาน

ฝ่าย :  ยุทธศาสตร์และแผนงาน

ประเภทการปฏิบัติงาน: การนำเสนอผลงานวิจัย

วันที่   22  พฤษภาคม 2557  ถึงวันที่  24 พฤษภาคม 2557

หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

สถานที่จัด :   ณ  โรงแรมภูเก็ต  เกรชแลนด์ รีสอร์ท

เรื่อง :  การนำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ

รายละเอียด

Depency Level in Performing Activities of Daily Living of the Elderly People

Artith Phumisawat BoromrajonaniCollege of Nursing, Nakhon Si Thammarat, Thailand

Ratthayanaphit Phalasuek Boromrajonani College of Nursing, Nakhon Si Thammarat, Thailand

tpalasuek@yahoo.com

PhakamolThonglearsBoromrajonaniCollege of Nursing, Nakhon Si Thammarat, Thailand

Abstract

Care needs have special importance to effectively plan for the long term care of elderly people. This survey research aimed to identify the number of older people in 3 groups, classified by the dependency level in performing activities of daily living (ADLs), which group 1 being the lowest and group 3 being the highest. The population was 517 older people residing in Tumbol Naphru, Phra-Phrom District in Nakhon Si Thammarat. The instrument was the Older People Dependency Screening Questionnaire developed by Linjong Phothipal at all. The results revealed that the percentage of group 1, group 2, and group 3 was 87.3, 8.1 and 4.5, respectively in males and 83.8, 9.8 and 6.4, respectively in females. The percentage of older people who were dependent was 3.8% for feeding, 5.2% for dressing and toileting, 5.6% for bathing and grooming, 5.4% for mobility in house, 9.7% for cooking, 13% for house cleaning, 12.2% for out-of -house mobility, 8.3% for using money, and 12.2% for using public transport. The number of older people who were dependency was increasing with increasing age. The results will be used as basic information for effective and costly intervention planning to improve the quality of life of the elderly.

Key words: Elderly people, Activities of Daily Living, Dependency level

Introduction

The senior population take place fast, so performing activities of daily living are reflection an appropriate of the living conditions.  The elderly care plan requires clear information on the level of dependence, including a number of elderly in each level of dependency. Aging population in 7 provinces of upper Southern, Thailand — Chumphon , Surat Thani and Nakhon Si Thammarat (NST), Phuket, Krabi , Ranong, Phang Nga are 11.51 percent of the total population . Especially, NST are facing the challenges of an aging society is increasing rapidly (Ministry of Social Development and stability. man , 2552 ), the elderly population in Prahma district is in The fifth place in NST. The elderly high as No. 5 of the 16 districts of the province . (Office of Public Health, Nakhon Si Thammarat , 2554 )

ที่กำลังเผชิญกับภาวะการณ์ของสังคมผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีจำนวนผู้สูงอายุมากที่สุดในภาคใต้ คือ จำนวน 205,421 คน คิดเป็นร้อยละ 14.27 (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2552) สถานการณ์ผู้สูงอายุในอำเภอพระพรหม มีผู้สูงอายุสูงเป็นลำดับที่ 5 จาก 16 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช (สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดนครศรีธรรมราช, 2554)

2. Objective

The objective was to develop the pattern of the public-mind consciousness in nursing students.

3. Methodology

The qualitative research design applied to step by step as follows:

3.1 The 20 purposive sampling from the 108 population were the Thirdrd year nursing students of BCNNST.

3.2 A three-step for cultivated the nursing students’ public mind covered;

3.2.1 Service mind capacity surveying aimed to study the understanding of the public consciousness in the students.

3.2.2 Service mind capacity building aimed to provided the students with a positive attitude towards the public consciousness.

3.2.3 Network of service mind expanding purposed to encouraged how to build the social or public affection in the students.

3.3 The research instruments used to develop public-minded consciousness included three categories. The first type was learned with three of modeling the behavioral movies__a cancer patient who taking care 10 orphans, the piano’s caregiver had learned piano for 2 years for achieved herself instead the elderly deformed left arm be able to play piano, and group of volunteers training imitating natural sounds such as rain and frogs to storytelling for blindness heavenly perceived the voices. The second one was intuitive writing explored processes and results of reflective thinking or self-observation. It puts the sample thought be aware of a volunteerism clearly for giving reasons of public-minded consciousness. The last one was process of Appreciation Influence Control (AIC) for learning through the direct experience.

3.4 The data was gathered by in depth interviews in this study elicited detailed information about volunteering behaviors. In depth interviews also explored details rising from the public-minded consciousness in terms of knowledge and understandings, reasoning in making decisions of public-minded consciousness and the public-minded behaviors.

3.5) Analysis of data used were content analysis  refered to research objective.

4. Results

4.1 Service mind capacity

Service mind capacity in nursing students refer to understand the public-minded consciousness with insight into two aspects as followed;

a) An integration of people who have public-mindedness done for public activities like helping other people or society and environmental conservation activities which that occur in various festivals. As the samples said;

“… any activities that help others such as cleaning the temple on a holy day…”

“… anyone can be a volunteer by kindness to others. Previously, thoughtful public activity as a volunteer camp that is a major projects… “

“… integration activities such as clubs, including any kind of a group activity in the festival. …”

“… Joint effort with the leader”

b) Public-minded consciousness is the helpful behaviors expressing sacrifice for people who need or social without expecting rewards. As the samples said;

“… We have a heart to help others without being forced whether a little or bundles. This starts from myself before”.

“…helping others is good because it is benefit others without expectation of return “.

“… helping soul as it allows recipients to feel good. To help someone in a trouble or not is more benefit “

“… bringing the ability to help others”.

After the sample clearly the 3 modeling behavioral movies they clarify understanding the nature of  public-minded consciousness is the idea of ​​people that need to do for the benefit of others and social. Whether it cover maintenance activities in the public domain, helping persons to benefit or to assist those who have suffered. By those actions do not expect a return. This public-minded consciousness is able to achieved to anyone, even though they didn’t used to think. The prototype also set the modeling to another one. Futhermore, people have found happiness with public-minded consciousness without expecting rewards. As the samples said;

“… anyone can be a volunteer by kindness to others”.

“… public-minded consciousness is cultivated by themselves to do for others but not for themselves “.

“… At first, I thought public-minded consciousness was be involved, but indeed that is the benefit to do for others”.

4.2 Service mind capacity building

Nursing students learn public-minded consciousness as a process of thinking and attitude of helping others, a community, and social which reasonable reconstruction from the value realization of the action to the other party or context of the community and society without expecting rewards until succeed the individual confidence as the samples said;

“… developing personal public mind is changing attitude from shame about a volunteering behavior to keep my spirit up”.

“…previously I thought, was that good to pick garbage up or not because most people didn’t do. After I realized the media not only that maintain a courage of mind but also promote and develop my public mindedness”.

“… public-minded conscious was driven by to ensure that things are well done, it doesn’t alienated and I have already found happiness with the thing I though and did for other people”.

“…just clear volunteering vision with the elderly’s caregiver who invested to learn piano for play the piano as the other hand of the older people was very impress me. I think it was unnecessary to do, but she attempt to do for the elder’s happiness”.

In this study has found an individual public-minded consciousness is classified into 4 levels as followed;

Level 1 is social responsibility and respecting the others’ rights. This level people regard to everyone the right to life, liberty and security of people.   They are endowed with reason and conscience and should act towards each other in their lifestyles without the intervention. So, that’s very thoughtful of interaction.

Level 2 is hesitation. This level people are nervous, embarrassed or worried, so they have a pause before doing something or a feeling that they should not do it.

Level 3 is an idea to help others in appropriate environment or context. This level people contribute to the performance based on their interactions to the environments involved by equipment, atmosphere and duties to preserving environments.

Level 4 is an attempt to do something success. This level people unconditionally intent to assist another person or others what they are capable without expecting rewards. As the samples said;

“…difference level of mindedness behavior, the lowest level is based on social responsibility, avoiding physical punishment and respecting the others’ rights; while, the second one is making decision to help. The thirdly is as acting for others’ acceptance, and the highest is becomes the helpful behaviors expressing sacrifice and solving the terrible situation without return”.

 

 

4.3 Network of service mind expanding

After the samples care for the elderly and disabled people in the community by using AIC as a mechanism. The results revealed that three components to developed the public mind were themselves, their families leader community, educational institute, teachers’ facilitate, and society. A model for cultivated the public mind in nursing student involved three elements; the policy development, the strategic planning determination, and operational development.

An approach to cultivated public awareness based on the nursing students’ opinion included;

1) Pre-regard to collective responsibility is to create or adapt a positive attitude towards the public-minded consciousness by studying to clarify the understanding of the public consciousness situations. Using story telling, movie, and video watching.  This phase should be developed from the family.

2) Regard to public awareness is a changing process of ideas, beliefs, and values regarding their abilities, and creativity. Include an expanding their ability to help others which is a positive thinking towards public-minded consciousness. This phase requires the reinforcement from other people and the contribution environment or context as peer groups.

3) Experiencing the Self-consciousness is determination to help others in uncomplicated situation until the event of a disaster. People have learning by doing and affect from  the recipients. This phage is a moment for achieve a positive impression on their actions. The prototype developed in this phase to ensure concrete action.

4) Experiencing the others-consciousness is the accumulation of public mindedness and cultivate a positive attitude towards public awareness until becomes the identity.

5) Experiencing the community-consciousness is a period of expanding public awareness and building networks with communicate their experience to others. This phase requires vocal group activities for the benefit of the community. Lessons learned by the reflective thinking to create and cultivate a positive attitude towards the public consciousness to others. As the samples said;

“…public mindedness need motivation, but not compulsion. So, importance to understand what, how, where, and when to do. Public-mindedness cultivation need communication and repeat”.

“… mindedness behavior must include; 1) have a good attitude, good thought and good practice, 2) peer group—friend and teacher agree with the idea to help and learn together. 3) ensure that things are well done for help others happiness”.

“…volunteer activities have to be able to do. Factors that encourage the public mindedness were cultivated by parents, teachers who have good role model”.

5. Discussion

The finding indicated nursing students’ opinion towards nature of the public-minded consciousness is a process of thinking and attitude that before and after clarify understanding are different. This study found that public-minded consciousness is able to achieved to anyone which the component includes 5 domains: 1) mental public or attitude 2) public activities 3) sacrifice behavior for others without rewards 4) public-minded consciousness modeling and 5) context that enabling mental public. Public-minded consciousness is classified into 4 levels as followed; Level 1 is social responsibility and respecting the others’ rights. Level 2 is hesitation. Level 3 is an idea to help others in appropriate environment or context. Level 4 is an attempt to do something success. An appropriate approach to cultivated public awareness based on the nursing students’ opinion include; 1) Pre-regard to collective responsibility which should be developed from the family, 2) regard to public awareness that requires the reinforcement from other people and the contribution environment or context as peer groups, 3) experiencing the self-consciousness which the prototype developed in this phase to ensure concrete action, 4) experiencing the others-consciousness, and 5) experiencing the community-consciousness in this phase lessons learned by the reflective thinking to create and cultivate a positive attitude towards the public consciousness to others. The results coherent to various studies such as Siri  Kaensa (2008), Nongnapas Thiengkamol (2012), (Andrea Campbell &  Nathaniel Persily, 2012), (Phakawadee LearsKarnchawat, 2011) and Constance Milbrath (2013). The recommendation  towards sustainable development the public awareness by policies established and enabling mental environment as peer groups for cultivation public-minded conscious cover experiencing the others-consciousness and experiencing the community-consciousness.

References

Andrea Campbell & Nathaniel Persily. (2012). The Health Care Case in the Public Mind: How the Supreme Court Shapes Opinion About Itself and the Laws It Considers from http://blog.oup.com/wp-content/uploads/2012/09/Persily-Campbell-health-care-case-in-public-mind.pdf

Constance Milbrath (2013). Socio-culturai selection and the sculpting of the human genome: Cultures’ directional forces on evolution and development, An International Journal of Innovative Theory in Psychology, 31(13): 390-406.

Nongnapas Thiengkamol. (2012). Model of Environmental Education and Psychological Factors Affecting to Global Warming Alleviation, Mediterranean Journal of Social Science, 3(11): 427-435.

Pakawadee Learskarnchanawat. (2011). The  Development of Public Mind for Thai Society in Buddhist. The NationalDefenseCollege, Bangkok.

Robert Wood and Albert Bandura. (1989). Social Cognitive Theory of Organizational Management. Conversations. Journal of Management, 14(3): 361-384.

Siri  Kaensa. (2008). Developing Public ConsciousnessS of  Mutthayomsuksa Students. A Case Study of Khonsawan School  Chaiyaphum Province, Thailand. Educational Journal of Thailand, 2(1): 64-72.

Thiengkamol, N. (2009a). The Great Pyilosopher: the Scientist only know but Intuitioner is Lord Buddha. Bangkok: Prachya Publication.

Thiengkamol, N. (2009b).The Happiness and the Genius be Created before Born. Bangkok: Prachya Publication.

Thiengkamol, N. (2011a). Holistically Integrative Research (2nd ed.).Bangkok: ChulalongkornUniversity Press.

Thiengkamol, N. (2011e). Environment and Development Book1. (4th ed.).Bangkok: ChulalongkornUniversity Press.

 

 

 

 

  (362)

ผลของการปรับพฤติกรรมและการใช้ยาในช่วงเดือนถือศีลอดของผู้ป่วยมุสลิมที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

ผลของการปรับพฤติกรรมและการใช้ยาในช่วงเดือนถือศีลอดของผู้ป่วยมุสลิมที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

 

วันที่บันทึก :  28  พฤษภาคม 2557

ผู้บันทึก : นางวรัญญา จิตรบรรทัด

กลุ่มงาน :  การพยาบาลพื้นฐานและพื้นฐานวิชาชีพ

ฝ่าย :  ยุทธศาสตร์และการบริหารความเสี่ยง

ประเภทการปฏิบัติงาน:  การนำเสนอผลงานวิจัย

วันที่   22  พฤษภาคม 2557 ถึงวันที่  24  พฤษภาคม 2557

หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :   มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

สถานที่จัด :  ณ  โรงแรมภูเก็ต แกรชแลนด์ รีสอร์ท

เรื่อง :  การนำเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ

รายละเอียด

ชื่อเรื่องวิจัย  ผลของการปรับพฤติกรรมและการใช้ยาในช่วงเดือนถือศีลอดของผู้ป่วยมุสลิมที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2

องค์ความรู้ที่ได้

การถือศีลอดในช่วงเดือนรอมฎอนของผู้ป่วยมุสลิมที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อาจส่งผลต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรับพฤติกรรม และการใช้ยาในช่วงเดือนถือศีลอด โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative study) วิเคราะห์ผลโดยการใช้ Content analysis จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 10 คน เป็นเพศหญิงทั้งหมด เป็นโรคเบาหวานมาประมาณ 5-10 ปี มีอายุตั้งแต่ 36-74 ปี พบว่าสามารถจำแนกผู้ป่วยตามการปรับพฤติกรรมออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มที่มีการปรับยา โดยปรับตามมื้ออาหารที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากในเดือนรอมฎอนผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ 2 มื้อหลัก คือ ก่อนแสงพระอาทิตย์ขึ้นส่วนใหญ่รับประทานอาหารเวลา 03.00-04.00 น. และมื้อเย็นตอนพระอาทิตย์ตกเวลาประมาณ 18. 30น. กรณีที่มียามื้อเที่ยงผู้ป่วยจะนำไปรับประทานก่อนนอน  2) กลุ่มที่มีการปรับยาและอาหาร ในเดือนรอมฎอนนั้นสิ่งที่ผู้ป่วยบอกว่าเป็นประโยชน์คือ ไม่สามารถกินจุบจิบได้ แต่ชนิดของอาหารจะเปลี่ยนไปจากเดิม คือ อาหารที่ใช้ละศีลอดส่วนใหญ่เป็น อาหารรสหวาน เช่น น้ำหวาน ของหวาน และอาหารมัน โดยมากจะแกงกะทิ ต้มซุปเนื้อ แทนการแกงส้ม แกงลียง โดยให้เหตุผลว่า “อดมาทั้งวัน ต้องกินอาหารดีๆหน่อย” ทางกลุ่มจึงได้ตกลงกันว่า จะปรับจากน้ำหวานเป็นน้ำมะพร้าวอ่อน(ไม่ใส่น้ำตาลและเนื้อมะพร้าว)แทน และลดปริมาณข้าวลง เพิ่มการรับประทานผลไม้ เช่น อินทผาลัม(ไม่เกิน 2 ผล) และแอบเปิ้ล  3) กลุ่มที่มีการปรับยาและการออกกำลังกาย ในเดือนรอมฎอนผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียจากจึงไม่ได้ออกกำลังกาย ทางกลุ่มจึงตกลงร่วมกันว่า การออกกำลังกายจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ออกกำลังกายด้วยการเดินในตอนย่ำรุ่งหลังรับประทานอาหาร และกลุ่มที่ออกกำลังกายโดยการละหมาดตะรอเวียะห์ในช่วงกลางคืน(ละหมาดนานและได้เหงื่อ) ซึ่งใครจะออกกำลังกายแบบไหนนั้นแล้วแต่ความสมัครใจ 4) กลุ่มที่มีการปรับยา อาหาร และการออกกำลังกาย โดยในการปรับพฤติกรรมนั้นผู้ป่วยจะต้องจดบันทึกชนิด ปริมาณของอาหาร และยาที่รับประทานในทุกมื้อ รวมถึงสังเกตอาการผิดปกติและจดบันทึกตลอด 1 เดือนในช่วงการถือศีลอด  จากการดำเนินงานสรุปได้ว่า ผู้ป่วยสามารถถือศีลอดได้มากกว่า 20 วัน ถึง ได้ตลอดทั้งเดือน ที่ไม่สามารถถือศีลอดได้เนื่องจากมีประจำเดือน และโดนเจาะเลือด  อาการผิดปกติที่พบในผู้ป่วยบางราย คือ อ่อนเพลีย ใจสั่น หวิวๆ วิธีแก้ปัญหา คือ ล้างหน้า และนอนพัก แต่ถ้านอนักแล้วไม่ดีขึ้น มีอาการหน้ามืดจะเป็นลมก็จะละศีลอดโดยการดื่มน้ำหวาน

ผลการศึกษา

กลุ่มตัวอย่างมีทั้งหมด 10 คน เป็นเพศหญิงทั้งหมด เป็นโรคเบาหวานมาประมาณ 5-10 ปี มีอายุตั้งแต่ 36-74 ปี มีโรคความดันโลหิตร่วม7 คน

พบว่าสามารถจำแนกผู้ป่วยตามการปรับพฤติกรรมออกเป็น 4 กลุ่ม คือ

1. กลุ่มที่มีการปรับยา โดยปรับตามมื้ออาหารที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากในเดือนรอมฎอนผู้ป่วยรับประทานอาหารได้ 2 มื้อหลัก คือ ก่อนแสงพระอาทิตย์ขึ้นส่วนใหญ่รับประทานอาหารเวลา 03.00-04.00 น. และมื้อเย็นตอนพระอาทิตย์ตกเวลาประมาณ 18. 30น. โดยยาก่อนอาหารเช้ารับประทานตั้งแต่ตื่นขึ้นมาทำกับข้าว ประมาณ 02.00- 02.30 น. รับประทานอาหารแล้วก็จะแล้วรับประทานยาหลังอาหารเช้า และยาหลังอาหารเย็น กรณีที่มียามื้อเที่ยงผู้ป่วยจะนำไปรับประทานก่อนนอน ทั้งนี้ผู้ป่วยจะประเมินตัวเองจากการถือศีลอดในวันแรกๆว่ามีอาการเหงื่อออก ใจสั่น วูบ จะเป็นลม หรือไม่ ถ้ามีอาการดังกล่าวผู้ป่วยจะลดปริมาณยาลงในวันถัดไป เช่น การไม่รับประทานยาหลังอาหารเช้า เนื่องจากคิดว่าเดี๋ยวอดอาหารทั้งวัน ถ้ารับประทานยาจะทำให้มีอาการผิดปกติในช่วงบ่ายได้

2. กลุ่มที่มีการปรับยาและอาหาร ในเดือนรอมฎอนนั้นสิ่งที่ผู้ป่วยบอกว่าเป็นประโยชน์คือ ไม่สามารถกินจุบจิบได้ แต่ชนิดของอาหารจะเปลี่ยนไปจากเดิม คือ อาหารที่ใช้ละศีลอดส่วนใหญ่เป็น อาหารรสหวาน เช่น น้ำหวาน ของหวาน และอาหารมัน โดยมากจะแกงกะทิ ต้มซุปเนื้อ แทนการแกงส้ม แกงลียง โดยให้เหตุผลว่า “อดมาทั้งวัน ต้องกินอาหารดีๆหน่อย” ทางกลุ่มจึงได้ตกลงกันว่า จะปรับจากน้ำหวานเป็นน้ำมะพร้าวอ่อน(ไม่ใส่น้ำตาลและเนื้อมะพร้าว)แทน และลดปริมาณข้าวลง เพิ่มการรับประทานผลไม้ เช่น อินทผาลัม (ไม่เกิน 2 ผล) และแอบเปิ้ล รวมทั้งไม่รับประทานอาหารหลัง 22.00 น.

3. กลุ่มที่มีการปรับยาและการออกกำลังกาย ในเดือนรอมฎอนผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียจากจึงไม่ได้ออกกำลังกาย ทางกลุ่มจึงตกลงร่วมกันว่า การออกกำลังกายจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ออกกำลังกายด้วยการเดินในตอนย่ำรุ่งหลังรับประทานอาหาร และกลุ่มที่ออกกำลังกายโดยการละหมาดตะรอเวียะห์ในช่วงกลางคืน(ละหมาดนานและได้เหงื่อ) ซึ่งใครจะออกกำลังกายแบบไหนนั้นแล้วแต่ความสมัครใจ

4. กลุ่มที่มีการปรับยา อาหาร และการออกกำลังกาย

ทั้งนี้ในการปรับพฤติกรรมนั้นผู้ป่วยจะต้องจดบันทึกชนิด ปริมาณของอาหาร และยาที่รับประทานในทุกมื้อ รวมถึงสังเกตอาการผิดปกติและจดบันทึกตลอด 1 เดือนในช่วงการถือศีลอด  จากการดำเนินงานสรุปได้ว่า ผู้ป่วยสามารถถือศีลอดได้มากกว่า 20 วัน ถึง ได้ตลอดทั้งเดือน ที่ไม่สามารถถือศีลอดได้เนื่องจากมีประจำเดือน และโดนเจาะเลือด  อาการผิดปกติที่พบในผู้ป่วยบางราย คือ อ่อนเพลีย ใจสั่น หวิวๆ วิธีแก้ปัญหา คือ ล้างหน้า และนอนพัก แต่ถ้านอนักแล้วไม่ดีขึ้น มีอาการหน้ามืดจะเป็นลมก็จะละศีลอดโดยการดื่มน้ำหวาน

สรุป

การถือศีลอดเป็นการปฏิบัติตามศาสนกิจของศาสนาอิสลามที่กำหนดให้มุสลิมปฏิบัติปีละหนึ่งเดือนซึ่งเรียกตามปฏิทินอิสลามว่า เดือนรอมฎอน การถือศีลอดจะละการกิน การดื่ม การร่วมประเวณี ตั้งแต่แสงอาทิตย์ขึ้นจนถึงดวงอาทิตย์ตก จึงส่งผลต่อผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยอาจทำให้โรคกำเริบหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้ การปรับพฤติกรรมและการใช้ยาในช่วงเดือนถือศีลอดของผู้ป่วยจึงมีความสำคัญมาก ถ้าผู้ป่วยสามารถปรับตัวได้ก็จะทำให้สามารถถือศีลอดได้อย่างปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ

หน่วยปฏิบัติงานปฐมภูมิควรให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนยาแก่ผู้ป่วยมุสลิมที่เป็นเบาหวานทุกราย ให้สามารถถือศีลอดได้อย่างปลอดภัย

  (1084)

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

วันที่บันทึก : 6  พฤษภาคม  2557

ผู้บันทึกนางสาวสุไรด้า  ระเบียบพร
กลุ่มงาน
ฝ่ายวิชาการ
ฝ่าย
: บริหาร
ประเภทการปฏิบัติงาน
:  ประชุมเชิงปฏิบัติการ
วันที่  
29  เมษายน  2557       ถึงวันที่  1  พฤษภาคม  2557
หน่วยงาน/สถาบันที่จัด
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร  จังหวัดตรัง
เรื่อง
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้
รายละเอียด
  :  อภิปรายระบบการจัดการเรียนการสอน  โดย อ.วิรัต  สำลี  และน้ำฝน  เอี่ยมวิริยาวัฒน์

  1. ระบบทะเบียน  :  ทบทวนการใช้ระบบงานทะเบียนทั้งระบบทุกเมนู  และอภิปรายปัญหาการใช้งานร่วมกัน  ในระบบทะเบียนได้มีการปรับปรุงระบบ  เช่น

-          ระบบการส่งเกรดโดยยังไม่ต้องชำระเงินแต่นักศึกษาจะไม่เห็นเกรด

-          เมนูหลักสูตร  ถ้าวิทยาลัยไม่ใช้สามารถเลือกออกได้

-          เมนูบุคลากร ในส่วนของอาจารย์ที่ปรึกษาสามารถจัดใหม่ได้ทุกปีในกรณีที่เปลี่ยน

-          การนำเข้านักศึกษา   รอให้ครบตามจำนวนโควตาแล้วค่อยนำเข้าครั้งเดียวและค่อยออกรหัส

2.    ระบบศิษย์เก่า   :  สำหรับให้ผู้สำเร็จการศึกษากรอกข้อมูลตนเองโดยใช้รหัสนักศึกษาในการเข้าใช้งาน  โดยในระบบได้อับโหลดข้อมูลศิษย์เก่าแล้วจำนวน   6   รุ่น

3.   ระบบกิจการนักศึกษา  :  ข้อมูลจะเก็บเป็นรายปี  และสามารถเรียกดูย้อนหลังได้

 ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน 

                การอภิปรายปัญหาการใช้งานและการเข้ากลุ่มพูดคุยปัญหาที่เกิดกับระบบงาน ทำให้เข้าใจระบบงานมากขึ้นและหากเกิดปัญหาขึ้นสามารถที่จะแก้ไขได้ในเบื้องต้นและขอความช่วยเหลือในเครือข่ายด้วยกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ

การนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้ในงานต่อไป

  (355)

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

วันที่บันทึก : 2 พฤษภาคม 2557

ผู้บันทึก : นายวินิจฉัย นินทรกิจ
กลุ่มงาน
:  งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฝ่าย
: บริหาร
ประเภทการปฏิบัติงาน
: ประชุมเชิงปฏิบัติการ
วันที่ 29 เมษายน 2557       ถึงวันที่ 1 พฤษภาคม 2557
หน่วยงาน/สถาบันที่จัด
: สถาบันพระบรมราชชนก
สถานที่จัด
: วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง
เรื่อง
: ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรในการใช้ระบบงานสารสนเทศด้านการศึกษาและการวิเคราะห์สภาพปัญหาระบบเครือข่าย ภาคใต้
รายละเอียด

          มีการศึกษาปัญหาที่พบบ่อยในงานระบบเครือข่าย, ความปลอดภัยของระบบเครื่องแม่ข่าย และแผนพัฒนาปรับปรุงระบบเครือข่ายสารสนเทศ โดยปัญหาที่พบบ่อยเกิดจากปัญหาภายในเครือข่าย เช่นไวรัส บอทเน็ต หรือการใช้ Bandwidth ปริมาณมาก และปัญหาภายนอกเครือข่าย เช่น การโจมตีจากภายนอก ปัญหาจาก ISP ผู้ให้บริการ โดยอาศัยเครื่องมือต่างๆในการตรวจเช็คตรวจสอบระบบและการแก้ปัญหาโดยใช้ OSI Model 7 Layers พร้อมทั้งแนวทางการป้องกันปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นซ้ำอีก โดยในการอบรมเชิงปฏิบัติการได้มีการแบ่งการวิเคราะห์การจัดการเครือข่ายออกเป็น 3 ระบบด้วยกัน คือ 1.ระบบไร้สาย (Wireless Network) 2.ระบบสาย (Wire Network) 3.ระบบเครื่องแม่ข่าย (Server System) โดยอาศัย Network Diagram และข้อมูลการติดตั้งจริงทุกส่วนที่ใช้งานอยู่ภายในวิทยาลัยฯ ในการวิเคราะห์ระบบทั้ง 3 ทำให้ได้ทราบปัญหาและรู้จุดบกพร่องจุดอ่อนของระบบเครือข่ายที่ใช้งานภายในวิทยาลัยฯ และแนวทางการแก้ไขปัญหาในแต่ละส่วนตามความเร่งด่วน พร้อมทั้งมีแผนรับมือในสภาวะฉุกเฉินได้

ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน

          ทำรายงานการวิเคราะห์การบริหารจัดการเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของวิทยาลัย เพื่อสามารถนำข้อมูลมาอ้างอิงในการทำแผนปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ

การนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้งาน

  (328)

เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

 

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

วันที่บันทึก :  ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ผู้บันทึกนางสาวนภาวรรณ วิริยะศิริกุล

กลุ่มงาน : กลุ่มงานการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และบริหารการพยาบาล

ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ

ประเภทการปฏิบัติงาน: อบรม

วันที่   ๒-๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : -

สถานที่จัด :   ณ  ห้องประชุม   ๔๗๐๓  สถาบันพระบรมราชชนก กรุงเทพมหานคร

เรื่อง : เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

รายละเอียด

ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากการอบรม/ประชุม/สัมมนา ครั้งนี้

วัตถุประสงค์สำหรับการประชุมครั้งนี้คือ การปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน) และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว คณะผู้จัดทำการประชุมมีแผนการทำหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว โดยจัดให้มีการไปศึกษาดูงานที่ประเทศศรีลังกา ในวันที่ ๘-๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ ก่อนการไปประเทศศรีลังกา จัดให้มีการศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาค เพื่อเตรียมข้อมูลสภาพจริงของชุมชนในแต่ละภาค

นำข้อมูลที่ได้ไปใช้แลกเปลี่ยนกับทีมปฐมภูมิศรีลังกา และนำความรู้มาพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว สาเหตุที่เลือกศึกษาดูงานประเทศศรีลังกา เนื่องจากประเทศศรีลังกามีผลงานเด่นด้านการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ และมีบริบทคล้ายคลึงกับประเทศไทย ในการประชุมมีการเสนอสถานที่สำหรับการลงศึกษาสถานการณ์ทั้ง   ๔ ภาค โดยส่วนกลางเป็นผู้เขียนโครงการ เนื่องจากระยะเวลามีจำกัด

เมื่อศึกษาสถานการณ์ครบ ๔ ภาค ทางส่วนกลางนัดประชุมอีกครั้ง ซึ่ง ผู้จัดวางแผนให้มีประชุมอีกครั้งราวปลายเดือนกรกฎาคม เพื่อสรุปผลการศึกษาสถานการณ์ทั้ง ๔ ภาค และเตรียมข้อมูลสำหรับใช้แลกเปลี่ยนในการศึกษาดูงานที่ประเทศศรีลังกา แผนการดำเนินงานศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาคครั้งที่ ระยะเวลา วิทยาลัยที่รับผิดชอบ พื้นที่ดูงาน

๑ วันที่ ๒๔ มิถุนายน วพบ.อุดรธานี (เขต ๘) เชิญชมรมพยาบาลเวชปฏิบัติใน ๗ จังหวัดมาประชุม จึงสามารถหาข้อมูลได้

๒ วันที่ ๒๓-๒๔ มิถุนายน วพบ.พระพุทธบาท ดอนพุธ ลพบุรี/ลำสนธิ ลพบุรี

๓ วันที่ ๑๕-๑๖ กรกฎาคม วพบ.สรรพสิทธิประสงค์ วารินชำราบ

๔ วันที่ ๑๕-๑๖ กรกฎาคม วพบ.สงขลา สงขลา

๕ วันที่ ๒๔-๒๕ กรกฎาคม วพบ.พุทธชินราช รพศ.พุ หรือบางระกำ

กลุ่มเป้าหมาย ในการศึกษาดูงาน ๔ ภาค

สบช.ส่วนกลาง

สป.สช.ส่วนกลาง และ สป.สช.เขตในภาคนั้นๆ

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ อ.นพ.สุรกเกียรติ/นพ.ยงยุทธ

คณะกรรมการวิชาการ (แยกตามภาค)

อาจารย์จาก วพบ. และ วสส. ที่ทำหน้าที่พัฒนา NP (แยกตามภาค)

ตัวแทน NP ในพื้นที่ที่ทำงานใน district health system

สิ่งที่ต้องการจากการศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาค

- ระดมความคิดเห็นของกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มพยาบาลผู้ผ่านการอบรม ผู้บริหาร ประชาชน/

ผู้ที่เกี่ยวข้อง

- ศึกษาสถานการณ์จริง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก

- วิเคราะห์ผลการศึกษาในแต่ละภาค (situation analysis) และนำมาสังเคราะห์ให้ได้ภาพรวมหลักสูตรฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

วันที่ เช้า บ่าย ข้อเสนอ

1 นโยบาย DHS และ primary care

ประเด็นข้อกฎหมายที่เกี่ยว

กับการปฏิบัติงานของ NP

ในสถานการณ์เปลี่ยนแปลง

2 รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

และแนวทางการประยุกต์ใช้ในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ

แนวทางการส่งเสริมและป้องกันโรคให้ทันยุค

3 แนวทางการวินิจฉัย/การรักษาโรคเบื้อต้นที่พบบ่อย (สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน)

4 การใช้ยาทั่วไป/การใช้ยาสมุนไพร แพทย์ทางเลือก

5 การจัดการภาวะวิกฤติและสถานการณ์ฉุกเฉินอ.ปนัดดา จากสภาการพยาบาล นำเสนอปัญหาที่พบจากการประชุมของสภาการพยาบาลเกี่ยวกับ NP

- ควรให้มีการศึกษาด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

- แบบบันทึกยังไม่ชัดเจน

- สนับสนุนการปฏิบัติงานของพยาบาลเวชปฏิบัติ ไม่มีการเลื่อนขั้นสภาการพยาบาลกำลังปรับปรุงหลักสูตรเวชปฏิบัติ ผ่านการรักษาโรคอะไรบ้าง มีกี่สมรถนะ และผู้เข้ารับการอบรมต้องกำหนดอย่างชัดเจน หากไม่มีเคส มีแนวทางทำอย่างไร อาจใช้สถานการณ์

เนื้อหาวิชาการที่ได้จากการประชุม มีดังนี้

วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ทิศทาง และเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้การจัดการทางการเงิน strategic purchaser โดย สำนักสนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีวิทยากรบรรยายคือ อ.จุฬาดา สุขุมาลวรรณ์ แนวโน้มด้านสุขภาพ มีประชาชนป่วยจากโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูงเพิ่มขึ้น ดังนั้นการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้การจัดการทางการเงิน strategic purchaser เป็นหลักประกันด้านสุขภาพให้กับประชาชน และป้องกันไม่ให้มีการล้มละลายจากการป่วย มีเป้าประสงค์ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมที่จำเป็นอย่างทั่วถึง เป็นธรรม

และมีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่วนวัตถุประสงค์

๑)เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทั้งที่หน่วยบริการและดูแลสุขภาพถึงบ้าน เมื่อเกินความสามารถ สามารถปรึกษาและประสานการส่ง-ต่อกลับให้มีการดูแลต่อเนื่อง ๒) ประชาชนมีความเชื่อมั่น

และเข้าถึงบริการการดูแลสุขภาวะชุมชนแบบมีส่วนร่วม (บทบาทของ NP)การจัดการด้านการเงินการคลังด้านสุขภาพในบริการปฐมภูมิ

Evidence-based

practice

การเยี่ยมบ้านคุณภาพ

(เสวนากรณีศึกษา)

ภาพฝันบริการปฐมภูมิ

เป็นบริการด่านแรก ครอบคลุม 4 มิติ และดูแลบุคคล ครอบครัว และชุมชนทิศทางขับเคลื่อนระบบปฐมภูมิ และ DHS : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง มีบุคลากรสหวิชาชีพ บริการงานเชิงพื้นที่ผ่าน essential care ร่วมกัน เป้าหมายที่ต้องการเห็นเป็นรูปธรรมเมื่อสิ้นปี ๒๕๕๙ ในห้ากลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง DM HT, ผู้สูงอายุ day care , เด็ก day care , ผู้ป่วยจิตเวช และผู้พิการ มีการเพิ่มศักยภาพ และเพิ่มคน (ผู้นำ

แพทย์ นักกายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย NP ทันตภิบาล นักกิจกรรมบำบัด นักกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา แพทย์แผนไทย นักโภชนาการ)เครือข่ายการจัดการ context base learning DHS (district health team) = Economy of scope อำเภอสถาบันการศึกษา ๑๓ แห่งศูนย์ประสานงาน และจัดการการเรียน (วพบ. สสจ. รพศ. รพช.)

ครูพี่เลี้ยง , ทีมผู้เรียน

แหล่งเรียนรู้ กรณีศึกษา เพื่อการศึกษาดูงาน

แนวทางการพัฒนาศักยภาพ NP/RN

มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ๑) เพิ่มการเข้าถึงบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน มั่นใจไปใช้เป็นที่แรก

๒) เสริมความเข้มแข็งการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DHS และ

๓) พัฒนาศักยภาพพยาบาล/NP ให้มีสมรรถนะตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว

Concept การพัฒนา

CBL

R2L

Health need assessment

เสริมการพัฒนา DHS

 

Net working เพื่อเสริมการพัฒนา DHS

วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๗

แนวคิดการพัฒนาพยาบาลในการบริการ เพื่อการบริการใน District health system โดย นพ.สุรเกียรติ อาชานุภาพ

NP ทำหน้าที่เป็น

- provider

- การจัดการเรียนโดยใช้บริบทเป็นฐาน context-based learning (CBL)

- manager

- learner เช่น KM, researchสำหรับแนวคิดการพัฒนาพยาบาล โดยเพิ่มสมรรถนะตามความต้องการ ในการเยี่ยมบ้านใช้หลักการ

INHOMESSS

DHML (District Health Management Learning) เน้นการเรียนของคนทำงาน

นำไปใช้ในชีวิตและงาน (adult learning) และการปฏิบัตินำทฤษฏี (learning by doing)

- ปัญญา รู้ด้วยการสนทนา

- ปัญญา ย่อมเกิดเพราะใช้การการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (participatory learning)ประสบการณ์

Concrete experience ประยุกต์ อภิปราย & สะท้อน Application discussion & reflection

ความคิดรวบยอด (ทฤษฏี)

conceptualization

สมรรถนะสำหรับการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ

1. ไม่ยุ่งยาก

- วางแผน

- ควบคุมกำกับ

- ประเมินผล

๒.๑ ยากเชิงเทคนิควิชาการ

 

- การประสานกับผู้เชี่ยวชาญ

- การพัฒนา (เพิ่ม) ทางเลือก

๒.๒ ยากเชิงสังคม

- การสร้างและพัฒนา การทำความเข้าใจร่วมกัน

๓. ยุ่งยากซับซ้อน

- ความคิดเชิงระบบ การสร้างความร่วมมือจากชุมชนและภาคส่วนต่างๆ

เพื่อดำเนินการและแก้ปัญหาร่วมกัน

AI = Academic Institute

LCC = Learning & Coordinating Center

LT = Learning Team

P = Preceptor

เครื่องมือเสริมฐานราก DHS คือการชื่นชมค้นหา พาวาดภาพฝัน จิตที่คิดดี ๔ ดวงเหลียวหน้าเห็นความหวัง เหลียวข้างหลังเห็นบทเรียนเหลียวรอบเห็นแปรเปลี่ยน เหลียวข้างในเห็นใจตน

๑.๒ สรุปเนื้อหาจากการเรียนรู้ด้านใด

บริหาร วิชาการ

วิชาชีพ ทัศนคติ

2. ความรู้ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานของตนเอง

๒.๑ ด้านการนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้กับงาน

การปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

๒.๒ ด้านการนำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์

การเรียนการสอน

การบริการวิชาการ

 

การพัฒนาบุคลากร การวิจัยและ/ผลงานทางวิชาการ

การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารงาน

การพัฒนานักศึกษา อื่นๆโปรดระบุ

๓. ด้านสมรรถนะ

ได้รับความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาพยาบาล เพื่อการบริการใน district health system

แนวทางการการปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

 

 

���;����J @P หาข้อมูลว่าผู้เรียนมีความสามารถและมีจุดอ่อนในการเรียนรู้อย่างไรบ้าง เพื่อให้เกิดการปรับปรุงแก้ไข

 

๒. Summative evaluation ตัดสินว่าผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงระดับมาตรฐานที่สมควรผ่านไปศึกษา Block ต่อไปหรือเลื่อนไปเรียนในปีถัดไปได้หรือไม่

ความรู้และทักษะของครูที่ควรมี

๑. ความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและของ block ที่ตนสอนเป็นอย่างดี

๒. ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกลุ่ม พฤติกรรมกลุ่ม

๓. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รวมทั้งมีทักษะในการเข้าในปัญหาและการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น

คุณลักษณะและเจตคติที่สำคัญของครู

๑. ต้องมองปัญหาให้ยืดหยุ่นและกว้างขวาง ครอบคลุมแง่มุมต่าง ๆ ของปัญหา

๒. ต้องรู้ว่าตนเองมิใช่ผู้วิเศษที่จะรู้ทุกอย่างและตอบได้ทุกคำถามและต้องไม่พยายามป้อน       หรือยัดเยียดความรู้ของตนเองให้กับนักศึกษา

๓. ต้องสนใจและเอาใจใส่นักศึกษาทั้งด้านพฤติกรรมและการเรียน สามารถค้นพบเมื่อเกิดปัญหาในการเรียนรู้และช่วยในการแก้ไข

๔. มีความเชื่อมั่นตนเองในการให้ Feedback ที่ตรงไปตรงมากับนักศึกษา

๕. ต้องไม่แสดงตนเป็นผู้มีอำนาจเต็มในชั้นเรียน แต่ให้ความนับถือนักศึกษาในฐานะเพื่อนร่วมงาน และสามารถเรียนรู้ร่วมกันกับนักศึกษา

๖. ต้องตระหนักถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมโดยสอดแทรกแนวคิดและทางปฏิบัติเมื่อมีโอกาส

๗. ต้องมีความรับผิดชอบสูง ปฏิบัติตามสัญญา เพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักศึกษา

การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มากกว่าการรับฟังเนื้อหาจากครูผู้สอนเพียงฝ่ายเดียว สิ่งสำคัญก็คือสถานการณ์ปัญหา  ที่นำมาใช้เป็นแรงกระตุ้นและผลักดันให้ผู้เรียนนำความรู้ หรือประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้แก้ปัญหา ดังนั้นลักษณะของปัญหาต้องมีความน่าสนใจ ท้าทายและน่าค้นหาคำตอบ รวมทั้งควรเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะได้แสดงความสามารถในการแก้ปัญหาโดยการระบุประเด็น โครงสร้าง และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง

 

 ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน

การจัดการเรียนการสอนให้ผลผลิตคือนักศึกษาพยาบาล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีคุณภาพต่อไป

ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ

การเรียนการสอนและการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา

  (538)