เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

 

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

วันที่บันทึก :  ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ผู้บันทึกนางสาวนภาวรรณ วิริยะศิริกุล

กลุ่มงาน : กลุ่มงานการพยาบาลเด็ก ผู้ใหญ่ และบริหารการพยาบาล

ฝ่าย :  ฝ่ายวิชาการ

ประเภทการปฏิบัติงาน: อบรม

วันที่   ๒-๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : -

สถานที่จัด :   ณ  ห้องประชุม   ๔๗๐๓  สถาบันพระบรมราชชนก กรุงเทพมหานคร

เรื่อง : เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

รายละเอียด

ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากการอบรม/ประชุม/สัมมนา ครั้งนี้

วัตถุประสงค์สำหรับการประชุมครั้งนี้คือ การปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน) และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว คณะผู้จัดทำการประชุมมีแผนการทำหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว โดยจัดให้มีการไปศึกษาดูงานที่ประเทศศรีลังกา ในวันที่ ๘-๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๗ ก่อนการไปประเทศศรีลังกา จัดให้มีการศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาค เพื่อเตรียมข้อมูลสภาพจริงของชุมชนในแต่ละภาค

นำข้อมูลที่ได้ไปใช้แลกเปลี่ยนกับทีมปฐมภูมิศรีลังกา และนำความรู้มาพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว สาเหตุที่เลือกศึกษาดูงานประเทศศรีลังกา เนื่องจากประเทศศรีลังกามีผลงานเด่นด้านการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ และมีบริบทคล้ายคลึงกับประเทศไทย ในการประชุมมีการเสนอสถานที่สำหรับการลงศึกษาสถานการณ์ทั้ง   ๔ ภาค โดยส่วนกลางเป็นผู้เขียนโครงการ เนื่องจากระยะเวลามีจำกัด

เมื่อศึกษาสถานการณ์ครบ ๔ ภาค ทางส่วนกลางนัดประชุมอีกครั้ง ซึ่ง ผู้จัดวางแผนให้มีประชุมอีกครั้งราวปลายเดือนกรกฎาคม เพื่อสรุปผลการศึกษาสถานการณ์ทั้ง ๔ ภาค และเตรียมข้อมูลสำหรับใช้แลกเปลี่ยนในการศึกษาดูงานที่ประเทศศรีลังกา แผนการดำเนินงานศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาคครั้งที่ ระยะเวลา วิทยาลัยที่รับผิดชอบ พื้นที่ดูงาน

๑ วันที่ ๒๔ มิถุนายน วพบ.อุดรธานี (เขต ๘) เชิญชมรมพยาบาลเวชปฏิบัติใน ๗ จังหวัดมาประชุม จึงสามารถหาข้อมูลได้

๒ วันที่ ๒๓-๒๔ มิถุนายน วพบ.พระพุทธบาท ดอนพุธ ลพบุรี/ลำสนธิ ลพบุรี

๓ วันที่ ๑๕-๑๖ กรกฎาคม วพบ.สรรพสิทธิประสงค์ วารินชำราบ

๔ วันที่ ๑๕-๑๖ กรกฎาคม วพบ.สงขลา สงขลา

๕ วันที่ ๒๔-๒๕ กรกฎาคม วพบ.พุทธชินราช รพศ.พุ หรือบางระกำ

กลุ่มเป้าหมาย ในการศึกษาดูงาน ๔ ภาค

สบช.ส่วนกลาง

สป.สช.ส่วนกลาง และ สป.สช.เขตในภาคนั้นๆ

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ อ.นพ.สุรกเกียรติ/นพ.ยงยุทธ

คณะกรรมการวิชาการ (แยกตามภาค)

อาจารย์จาก วพบ. และ วสส. ที่ทำหน้าที่พัฒนา NP (แยกตามภาค)

ตัวแทน NP ในพื้นที่ที่ทำงานใน district health system

สิ่งที่ต้องการจากการศึกษาสถานการณ์ ๔ ภาค

- ระดมความคิดเห็นของกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มพยาบาลผู้ผ่านการอบรม ผู้บริหาร ประชาชน/

ผู้ที่เกี่ยวข้อง

- ศึกษาสถานการณ์จริง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก

- วิเคราะห์ผลการศึกษาในแต่ละภาค (situation analysis) และนำมาสังเคราะห์ให้ได้ภาพรวมหลักสูตรฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

วันที่ เช้า บ่าย ข้อเสนอ

1 นโยบาย DHS และ primary care

ประเด็นข้อกฎหมายที่เกี่ยว

กับการปฏิบัติงานของ NP

ในสถานการณ์เปลี่ยนแปลง

2 รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

และแนวทางการประยุกต์ใช้ในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ

แนวทางการส่งเสริมและป้องกันโรคให้ทันยุค

3 แนวทางการวินิจฉัย/การรักษาโรคเบื้อต้นที่พบบ่อย (สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน)

4 การใช้ยาทั่วไป/การใช้ยาสมุนไพร แพทย์ทางเลือก

5 การจัดการภาวะวิกฤติและสถานการณ์ฉุกเฉินอ.ปนัดดา จากสภาการพยาบาล นำเสนอปัญหาที่พบจากการประชุมของสภาการพยาบาลเกี่ยวกับ NP

- ควรให้มีการศึกษาด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

- แบบบันทึกยังไม่ชัดเจน

- สนับสนุนการปฏิบัติงานของพยาบาลเวชปฏิบัติ ไม่มีการเลื่อนขั้นสภาการพยาบาลกำลังปรับปรุงหลักสูตรเวชปฏิบัติ ผ่านการรักษาโรคอะไรบ้าง มีกี่สมรถนะ และผู้เข้ารับการอบรมต้องกำหนดอย่างชัดเจน หากไม่มีเคส มีแนวทางทำอย่างไร อาจใช้สถานการณ์

เนื้อหาวิชาการที่ได้จากการประชุม มีดังนี้

วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๗ทิศทาง และเป้าหมายการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้การจัดการทางการเงิน strategic purchaser โดย สำนักสนับสนุนเครือข่ายบริการปฐมภูม สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีวิทยากรบรรยายคือ อ.จุฬาดา สุขุมาลวรรณ์ แนวโน้มด้านสุขภาพ มีประชาชนป่วยจากโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูงเพิ่มขึ้น ดังนั้นการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิภายใต้การจัดการทางการเงิน strategic purchaser เป็นหลักประกันด้านสุขภาพให้กับประชาชน และป้องกันไม่ให้มีการล้มละลายจากการป่วย มีเป้าประสงค์ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมที่จำเป็นอย่างทั่วถึง เป็นธรรม

และมีคุณภาพได้มาตรฐาน ส่วนวัตถุประสงค์

๑)เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการทั้งที่หน่วยบริการและดูแลสุขภาพถึงบ้าน เมื่อเกินความสามารถ สามารถปรึกษาและประสานการส่ง-ต่อกลับให้มีการดูแลต่อเนื่อง ๒) ประชาชนมีความเชื่อมั่น

และเข้าถึงบริการการดูแลสุขภาวะชุมชนแบบมีส่วนร่วม (บทบาทของ NP)การจัดการด้านการเงินการคลังด้านสุขภาพในบริการปฐมภูมิ

Evidence-based

practice

การเยี่ยมบ้านคุณภาพ

(เสวนากรณีศึกษา)

ภาพฝันบริการปฐมภูมิ

เป็นบริการด่านแรก ครอบคลุม 4 มิติ และดูแลบุคคล ครอบครัว และชุมชนทิศทางขับเคลื่อนระบบปฐมภูมิ และ DHS : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง มีบุคลากรสหวิชาชีพ บริการงานเชิงพื้นที่ผ่าน essential care ร่วมกัน เป้าหมายที่ต้องการเห็นเป็นรูปธรรมเมื่อสิ้นปี ๒๕๕๙ ในห้ากลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง DM HT, ผู้สูงอายุ day care , เด็ก day care , ผู้ป่วยจิตเวช และผู้พิการ มีการเพิ่มศักยภาพ และเพิ่มคน (ผู้นำ

แพทย์ นักกายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย NP ทันตภิบาล นักกิจกรรมบำบัด นักกายภาพบำบัด นักจิตวิทยา แพทย์แผนไทย นักโภชนาการ)เครือข่ายการจัดการ context base learning DHS (district health team) = Economy of scope อำเภอสถาบันการศึกษา ๑๓ แห่งศูนย์ประสานงาน และจัดการการเรียน (วพบ. สสจ. รพศ. รพช.)

ครูพี่เลี้ยง , ทีมผู้เรียน

แหล่งเรียนรู้ กรณีศึกษา เพื่อการศึกษาดูงาน

แนวทางการพัฒนาศักยภาพ NP/RN

มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ๑) เพิ่มการเข้าถึงบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และมาตรฐาน มั่นใจไปใช้เป็นที่แรก

๒) เสริมความเข้มแข็งการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DHS และ

๓) พัฒนาศักยภาพพยาบาล/NP ให้มีสมรรถนะตามแนวคิดเวชศาสตร์ครอบครัว

Concept การพัฒนา

CBL

R2L

Health need assessment

เสริมการพัฒนา DHS

 

Net working เพื่อเสริมการพัฒนา DHS

วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๗

แนวคิดการพัฒนาพยาบาลในการบริการ เพื่อการบริการใน District health system โดย นพ.สุรเกียรติ อาชานุภาพ

NP ทำหน้าที่เป็น

- provider

- การจัดการเรียนโดยใช้บริบทเป็นฐาน context-based learning (CBL)

- manager

- learner เช่น KM, researchสำหรับแนวคิดการพัฒนาพยาบาล โดยเพิ่มสมรรถนะตามความต้องการ ในการเยี่ยมบ้านใช้หลักการ

INHOMESSS

DHML (District Health Management Learning) เน้นการเรียนของคนทำงาน

นำไปใช้ในชีวิตและงาน (adult learning) และการปฏิบัตินำทฤษฏี (learning by doing)

- ปัญญา รู้ด้วยการสนทนา

- ปัญญา ย่อมเกิดเพราะใช้การการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (participatory learning)ประสบการณ์

Concrete experience ประยุกต์ อภิปราย & สะท้อน Application discussion & reflection

ความคิดรวบยอด (ทฤษฏี)

conceptualization

สมรรถนะสำหรับการบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ

1. ไม่ยุ่งยาก

- วางแผน

- ควบคุมกำกับ

- ประเมินผล

๒.๑ ยากเชิงเทคนิควิชาการ

 

- การประสานกับผู้เชี่ยวชาญ

- การพัฒนา (เพิ่ม) ทางเลือก

๒.๒ ยากเชิงสังคม

- การสร้างและพัฒนา การทำความเข้าใจร่วมกัน

๓. ยุ่งยากซับซ้อน

- ความคิดเชิงระบบ การสร้างความร่วมมือจากชุมชนและภาคส่วนต่างๆ

เพื่อดำเนินการและแก้ปัญหาร่วมกัน

AI = Academic Institute

LCC = Learning & Coordinating Center

LT = Learning Team

P = Preceptor

เครื่องมือเสริมฐานราก DHS คือการชื่นชมค้นหา พาวาดภาพฝัน จิตที่คิดดี ๔ ดวงเหลียวหน้าเห็นความหวัง เหลียวข้างหลังเห็นบทเรียนเหลียวรอบเห็นแปรเปลี่ยน เหลียวข้างในเห็นใจตน

๑.๒ สรุปเนื้อหาจากการเรียนรู้ด้านใด

บริหาร วิชาการ

วิชาชีพ ทัศนคติ

2. ความรู้ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานของตนเอง

๒.๑ ด้านการนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้กับงาน

การปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

๒.๒ ด้านการนำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์

การเรียนการสอน

การบริการวิชาการ

 

การพัฒนาบุคลากร การวิจัยและ/ผลงานทางวิชาการ

การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารงาน

การพัฒนานักศึกษา อื่นๆโปรดระบุ

๓. ด้านสมรรถนะ

ได้รับความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาพยาบาล เพื่อการบริการใน district health system

แนวทางการการปรับปรุงหลักสูตรการฟื้นฟูศักยภาพพยาบาลเวชปฏิบัติ (short course ๓-๕ วัน)

และพัฒนาหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทาง สาขาเวชปฏิบัติครอบครัว

 

 

���;����J @P หาข้อมูลว่าผู้เรียนมีความสามารถและมีจุดอ่อนในการเรียนรู้อย่างไรบ้าง เพื่อให้เกิดการปรับปรุงแก้ไข

 

๒. Summative evaluation ตัดสินว่าผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงระดับมาตรฐานที่สมควรผ่านไปศึกษา Block ต่อไปหรือเลื่อนไปเรียนในปีถัดไปได้หรือไม่

ความรู้และทักษะของครูที่ควรมี

๑. ความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและของ block ที่ตนสอนเป็นอย่างดี

๒. ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการกลุ่ม พฤติกรรมกลุ่ม

๓. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รวมทั้งมีทักษะในการเข้าในปัญหาและการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้น

คุณลักษณะและเจตคติที่สำคัญของครู

๑. ต้องมองปัญหาให้ยืดหยุ่นและกว้างขวาง ครอบคลุมแง่มุมต่าง ๆ ของปัญหา

๒. ต้องรู้ว่าตนเองมิใช่ผู้วิเศษที่จะรู้ทุกอย่างและตอบได้ทุกคำถามและต้องไม่พยายามป้อน       หรือยัดเยียดความรู้ของตนเองให้กับนักศึกษา

๓. ต้องสนใจและเอาใจใส่นักศึกษาทั้งด้านพฤติกรรมและการเรียน สามารถค้นพบเมื่อเกิดปัญหาในการเรียนรู้และช่วยในการแก้ไข

๔. มีความเชื่อมั่นตนเองในการให้ Feedback ที่ตรงไปตรงมากับนักศึกษา

๕. ต้องไม่แสดงตนเป็นผู้มีอำนาจเต็มในชั้นเรียน แต่ให้ความนับถือนักศึกษาในฐานะเพื่อนร่วมงาน และสามารถเรียนรู้ร่วมกันกับนักศึกษา

๖. ต้องตระหนักถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมโดยสอดแทรกแนวคิดและทางปฏิบัติเมื่อมีโอกาส

๗. ต้องมีความรับผิดชอบสูง ปฏิบัติตามสัญญา เพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักศึกษา

การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียน เนื่องจากผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มากกว่าการรับฟังเนื้อหาจากครูผู้สอนเพียงฝ่ายเดียว สิ่งสำคัญก็คือสถานการณ์ปัญหา  ที่นำมาใช้เป็นแรงกระตุ้นและผลักดันให้ผู้เรียนนำความรู้ หรือประสบการณ์ที่มีอยู่เดิมมาใช้แก้ปัญหา ดังนั้นลักษณะของปัญหาต้องมีความน่าสนใจ ท้าทายและน่าค้นหาคำตอบ รวมทั้งควรเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้เรียน เพื่อผู้เรียนจะได้แสดงความสามารถในการแก้ปัญหาโดยการระบุประเด็น โครงสร้าง และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยตนเอง

 

 ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน

การจัดการเรียนการสอนให้ผลผลิตคือนักศึกษาพยาบาล เป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีคุณภาพต่อไป

ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ

การเรียนการสอนและการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบของนักศึกษา

  (539)

Comments are closed.