ไปราชการเพื่อทบทวนวรรณกรรมสำหรับทำวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการดูแล ปัญหา และการเผชิญปัญหาของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล

ไปราชการเพื่อทบทวนวรรณกรรมสำหรับทำวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการดูแล ปัญหา และการเผชิญปัญหาของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ผู้บันทึก :  นางวันดี แก้วแสงอ่อน
  กลุ่มงาน :  งานวิจัยและผลงานวิชาการ
  ฝ่าย :  ฝ่ายส่งเสริมวิชาการ
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ทบทวนวรรณกรรมเพื่อทำวิจัย
  เมื่อวันที่ : 6 ก.ย. 2553   ถึงวันที่  : 8 ก.ย. 2553
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  วพบ.นศ.
  จังหวัด :  นครศรีธรรมราช
  เรื่อง/หลักสูตร :  ไปราชการเพื่อทบทวนวรรณกรรมสำหรับทำวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการดูแล ปัญหา และการเผชิญปัญหาของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เข้ารับการรักษาในโรง พยาบาล
  วันที่บันทึก  13 ก.ย. 2553


 รายละเอียด
               ได้ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เกี่ยวกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อนำมาใช้ในการเขียนงานวิจัยตั้งแต่บทที่ 1 ถึงบทที่ 5 โดยมีงานวิจัยที่ได้ทบทวนมาดังนี้ 1) เฟี่ยงฟ้า สีสวย .(2550). คุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิต คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพมหานคร. 2) ลักขณา ผ่องพุทธ. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโรงพยาบาลนภาลัย โดยใช้แนวคิดของการจัดการความรู้. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. , กรุงเทพมหานคร. 3) สุปรียา พิทักษ์เจริญ. (2552). ผลของการใช้โปรแกรมการวางแผนจำหน่ายต่อความสามารถในการปฏิบัติของผู้ดูแลบ ภาวะแทรกซ้อน และอัตราการเข้ารับการรักษาซ้ำของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพมหานคร. 4) วิราสิริ วสีวีรสิว์ และราตรี ผลสาลี่. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยต้องพึ่งพา แผนกจักษุโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์(วัดไร่ขิง). ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านจักษุวิทยา โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารสุข, กรุงเทพมหานคร. 5) อัญชลี ยศกรณ์. (2551). ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางการพยาบาลสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อภาระ การดูแลของผู้ป่วย. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ คณะพยาบาลศาตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพมหานคร. และทบทวนวรรณกรรมเรื่องอื่นๆดังนี้ 6) สุดาพรรณ บินนอก. (2551). โมเดลเชิงสาเหตุของจิตอาสาระดับปริญญาบัณฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ครุศาตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกร์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 7) จุฑาทิพย์ ภารพบ. (2547). การพัฒนาระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับแบบ 360 องศา เพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลของคณะวิชาในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ครุศาตรดุษฎีบัณฑิต สาขาอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 8) วีรภัทร ภัทรกุล. (2549). การพัฒนารูปแบบการวางแผนทรัพยากรบุคคลของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วิทยานิพนธ์ครุศาตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
              – การพัฒนางานวิจัยเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง – พัฒนางานเกี่ยวกับงานพัฒนาบุคลากร และงานวิจัยของนักศึกษา


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?
              -การวิจัยและผลิตผลงานทางวิชาการเกี่ยวกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

(393)

Comments are closed.