แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้
วันที่บันทึก : ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗
ผู้บันทึก : นางสาวจันทิมา ช่วยชุม
กลุ่มงาน : วิชาการพยาบาลพื้นฐานและพื้นฐานวิชาชีพ
ฝ่าย : พัฒนานักศึกษา
ประเภทการปฏิบัติงาน: ประชุม
วันที่ ๒๘ ถึง ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗
หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง
สถานที่จัด : ณ โรงแรมธรรมรินทร์ธนา จังหวัดตรัง
เรื่อง : การดูแลผู้ป่วยวิกฤต
รายละเอียด
ด้านเนื้อหาสาระ
การดูแลผู้ป่วยวิกฤตมีประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
- จำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
- ผู้ป่วยวิกฤตต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด และต้องพึ่งพาเทคโนโลยีสมัยใหม่มากขึ้น ต้องการบุคลากรที่มีความสามารถเฉพาะทาง
- การมีหลักสูตรเฉพาะทางมากขึ้น ทำให้มีหัตถการต่างๆมากขึ้น
- โรคติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น
- จำนวนผู้ป่วยไม่ติดเชื้อมากขึ้น เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง
- ภัยจากธรรมชาติเพิ่มขึ้น
- มีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้น
- การปฏิรูประบบสุขภาพทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพมากขึ้น
- คนต่างด้าวเข้ามาอยู่ในเมืองไทยมากขึ้น
- การเติบโตของการแพทย์เอกชน
เป้าหมายของการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
- เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่มีประสิทธิภาพ สามารถฟื้นฟูสภาพกลับมาได้ดีที่สุด ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถปรับตัว เผชิญกับความทุกข์ทรมาน (ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ เศรษฐกิจ สังคม และจิตวิญญาณ)
- ในกรณีที่ไม่สามารถช่วยชีวิตได้ต้องดูแลให้ไปอย่างสงบ สมศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ดูแลให้ครอบครัวสามารถเผชิญกับความสูญเสียได้อย่างเหมาะสม
Concepts ที่ใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ได้แก่
- Synergy Model : โมเดลการประสานความร่วมมือ
: เป็นโมเดลที่เชื่อมโยง Practice กับ Patient outcome
: Model จะเชื่อมโยงคุณลักษณะของผู้ป่วยกับความสามารถของพยาบาล
: การมอบหมายงาน การมอบหมาย Case ที่วิกฤตที่สุดให้พยาบาลที่มีประสบการ์มากที่สุดเป็นผู้ดูแล
: ใช้ EBP เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล
: เป็น Model ที่สามารถประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยวิกฤตได้ทุกลักษณะของโรคและความเจ็บป่วย
- FASTHUG and BANDAIDS
- Feeding : เริ่ม feed ให้เร็วที่สุด
- Analgesia : ประเมินความปวดให้ได้และควบคุมให้ได้
- Sedation : การให้ยาระงับประสาท
- Thromboembolic prevention : การป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
- Head of the bed evaluation : การปรับเตียงให้หัวสูง
- Stress ulcer prophylaxis : การให้ยาป้องกันเลือดออกในกระเพาะอาหาร
- Glucose control : ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในช่วง 80-200 mg%
- Bowels address ; ดูแลเรื่องการขับถ่ายเพื่อลดของเสียคั่ง
- Increased daily activity : ส่งเสริมการเคลื่อนไหว
- Night time rest : ดูแลเรื่องการนอนหลับ
- Disability prevention and discharge planning : การป้องกันโรคแทรกซ้อนและการวางแผนจำหน่าย
- Aggressive alveolar maintenance : การปกคลุมถุงลมในปอด
- Infection prevention : การป้องกันการติดเชื้อ
- Delirium assessment and treatment : การประเมินและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลัน
- Skin and spiritual care : การดูแลผิวหนังและการดูแลมิติจิตวิญญาณ
- End of life care
- Ethical issues
Assessment and Monitoring
Assessment
Pre-arrival
Admission Quick Check
Comprehensive Admission Assessment
Ongoing Assessment
เครื่องมือที่ใช้ใน Assessment ได้แก่
- APACHE II, APACHE IV
- FANCAS : F = Fluid balance; A = Aeration; N = Nutrition; C = Communication; A = Activities; S = Stimulation
Monitoring
Hemodynamic Respiratory
EKG BP CVP PA Bedside clinical Oxygenation Ventilation
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ Shock
Principles of Shock Management
- Improve oxygen delivery to prevent cellular and tissue injury
- Restoration of perfusion to achieve adequate blood pressure, cardiac output
- Correction of etiology
Monitoring of Shock Management
- Clinical Manifestations
- Mental status
- Blood pressure
- Heart rate
- Jugular venous pressure
- Urine output
- Invasive Monitoring
- Central venous pressure : CVP
- Central venous oxygen saturation : ScvO2
- Pulmonary capillary wedge pressure : PCWP
- Systemic vascular resistance : SVR
- Cardiac output/ Cardiac index : CO/CI
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะ Sepsis (2012) แบ่งเป็น
1. 3-HOUR RESUSCITATION BUNDLE
a. Draw lactate
b. 2 sets of hemocultures : within 45 minutes
c. Broad spectrum antibiotics : within 1 hour
d. At least 30 mL/Kg crystalloid fluid challenge
2. 6-HOUR RESUSCITATION BUNDLE
a. Vasopressor : keep MAP ≥ 65mmHg
(if goals not met by fluid challenge, NE is drug of choice.)
b. Persistent hypotension or initial lactate ≥ 4 mmol/L:
i. CVP : 8‐12 mmHg
: 12‐15 mmHg
for patients with mechanically‐ventilation or
↑ intraabdominal pressure due to cardiac filling impediment
ii. ScvO2: goal ≥ 70% (or, SvO2 ≥ 65%)
c. Re‐measure lactate: goal is normalizing lactate
d. Urine Output ≥ 0.5 mL/Kg/hr
เครื่องมือที่ใช้ในการ Early detection ได้แก่
- Modify Early Warning Score (MEWS) : ประเมิน SBP; HR; RR; Body Temp; Conscious โดยประเมินการเบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์ 0
- National Early Warning Score (NEWS)
สรุปเนื้อหาจากการเรียนรู้ด้านใด
วิชาการ
วิชาชีพ
ความรู้ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานของตนเอง
ด้านการนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้กับงาน
การนำเนื้อหาความรู้และแนวปฏิบัติที่ทันสมัยเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤตมาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนทั้งในภาคทฤษฎีและการขึ้นฝึกปฏิบัติงานในภาคปฏิบัติเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักศึกษาและหอผู้ป่วยที่ขึ้นฝึกปฏิบัติงานต่อไป
การพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กรที่ว่าได้คุณภาพตามมาตรฐานสากล
ด้านการนำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์
การเรียนการสอน
การพัฒนาบุคลากร
ด้านสมรรถนะ
การพัฒนาด้านความรู้และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยวิกฤต
การสร้างเครือข่ายกับเพื่อนร่วมวิชาชีพและทีมสหสาขาวิชาชีพ
(6450)