แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้
สรุปความรู้จากการประชุม โครงการบริหารยุทธศาสตร์แบบครบวงจรทั้งองค์กรและการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการโครงการและแผนปฏิบัติการ
ณ โรงแรมริชมอนด์ วันที่ 2-4 กรกฎาคม 2557
ปัจจัยที่มีผลต่อการวางแผนพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ
ปัจจัยภายใน
- การปฏิรูปกระทรวงสาธารสุข
- ปฏิรูปการเงินการคลัง
- ปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพ
- การเตรียมความพร้อมไปสู่ AC
ปัจจัยภายนอก
- ประเทศไทยมีคนป่วยมากขึ้น
- ระบบการศึกษษเปลี่ยนไปจาก Experience based สู่ Evidence based
- เทคฌนโลยีการแพทย์ที่ราคาแพง
- การเกิดโรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ
- อุบัติภัยทางธรรมชาติ
- Aging society
- การฟ้องร้องที่สูงขึ้น
สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรสาธาณสุข
- จิตสาธารณะ
- การทำงานเป็นทีม
- รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน
- ทักษะการเป็นที่ปรึกษาให้ประชาชนดูแลตนเอง
- เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม
- การเรียนรู้ต่อตลอดชีวิต
ปัญหาที่สำคัญในระบบบริการสุขภาพของประชาชน คือ ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ
- ขนาดพื้นที่บริการที่เหมาะสม
- การส่งต่อไร้รอยต่อ
- การเพิ่มคุณภาพ ประสิทธิภาพ
- การกระจายอำนาจ
การใช้บริการสุขภาพ
- เข้าถึงบริการมากขึ้นแต่ยังแตกต่างระหว่างภาค
- ยังมีความเลื่อมล้ำของสิทธิประโยชน์ของ 3 กองทุน
- มีการส่งต่อการปฏิเสธการส่งต่อสูง
การอภิบาลระหว่างการเงินการคลังสุขภาพ
- ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงขึ้น 3.9%/GDP
- มีโรงพยาบาลขาดทุนระดับ 7 รุนแรงสูงสุดจำนวน 175 แห่ง
เป้าประสงค์
ระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมานฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เพอื่ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข
มาตรการระยะเร่งด่วน
- ร่วมสร้างมาตระการสมานฉันท์
- พัฒนาระบบบริการให้ดีขึ้น
- สร้างขวัญกำลังใจ
- สร้างระบบธรรมาภิบาลและกลไกเฝ้าระวังตรวจสอบ ถ่วงดุล
- มาตรการบำบัดรักษา
- ยาเสพติด
การทดลองใช้โปรแกรมระบบจัดการแผนยุทธศาสตร์และการจัดการโครงการ ซึ่ง ม. บูรพาจะนำไปปรับปรุงอีกครั้งหลังจากทดลองใช้และผ่านการเสนอแนะจากวิทยาลัยต่างๆ
(288)