แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนแบบ PBL (Problem Base Learning) ในศตวรรษที่ 21

ขั้นเตรียมสอน ขั้นสอน ขั้นประเมินผล
 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปิดโจทย์ปัญหา

7. Synthesize and test the newly acquired and identify information generalization and principles derived from studying this problem กลุ่มกลับมาพบกันใหม่ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน และสรุปเป็นหลักการสำหรับนำไปใช้ต่อไปในอนาคต

ศึกษาหาความรู้

6. Collect additional information outside the group รวบรวมข้อมูลนอกกลุ่ม โดยต่างคนต่างแยกย้ายหาความรู้จากแหล่งวิทยาการต่างๆ ตามประเด็นการเรียนรู้ที่ตั้งไว้

เปิดโจทย์ปัญหา

1. Clarify terms and concepts :อธิบายคำศัพท์ที่ไม่เข้าใจ

2. Identify the problem :ตั้งปัญหา

3. Analyze the problem :วิเคราะห์ปัญหา

4. Formulate hypotheses :ตั้งสมมติฐาน

5. Formulate learning objectives :กำหนดประเด็นการเรียนรู้

– ด้านคุณธรรม จริยธรรม

– ด้านความรู้

– ด้านการคิดวิเคราะห์

– ด้านการทำงานเป็นทีม

– ด้านทักษะการสื่อสาร

 

– เตรียมโจทย์ปัญหา(Scenario) ที่สั้น กระชับ มีเนื้อหา และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน

– เตรียมห้องเรียนกลุ่มย่อยให้พร้อมใช้

– การเตรียมอุปกรณ์/สื่อการเรียนกลุ่มย่อย

– การเตรียมผู้สอนเกี่ยวกับการสอนแบบ PBL ได้แก่ 1)การปฐมนิเทศกระบวนการเรียนแบบPBL ความคาดหวังของวิชาที่เรียนและวิธีประเมินผล 2)การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 3) การทําให้ความต้องการเรียนรู้ของผู้เรียนมีความชัดเจน 4)การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ 5)การกระตุ้นการมีเหตุผลของผู้เรียนโดยใช้คําถาม6)การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ 7)การให้ข้อเสนอแนะย้อนกลับ

– การเตรียมผู้เรียนเกี่ยวกับทักษะการค้นคว้าหาข้อมูล การสรุปความ การเลือกใช้แหล่งข้อมูล การเขียนบรรณานุกรม เพื่อใช้ในการเรียนกลุ่มย่อย

– การเตรียมแหล่งข้อมูล/การเข้าถึงข้อมูล (หนังสือ, ระบบอินเตอร์เน็ต, ฐานข้อมูล)