นักจัดการงานทั่วไป

นักจัดการงานทั่วไป
 ผู้บันทึก :  นางปวันณัฐ จันทร์ภักดี
  กลุ่มงาน :  งานบริหารทั่วไป
  ฝ่าย :  ฝ่ายบริหาร
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  นักจัดการงานทั่วไป
  เมื่อวันที่ : 18 พ.ค. 2553   ถึงวันที่  : 21 พ.ค. 2553
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  ประชุม
  จังหวัด :  สมาคมบริหารงานทั่วไป กระทรวงสาธารณสุข
  เรื่อง/หลักสูตร :  นักจัดการงานทั่วไป
  วันที่บันทึก  20 ก.พ. 2554

 รายละเอียด
               รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ และ พระราชบัญญัติ.ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ..พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รับทราบถึง -สิทธิในการใช้ข้อมูลข่าวสารการร้องเรียน -ประโยชน์และคุณค่า ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ๓ กลุ่ม ๑.เปิดเผยทั่วไป ๒.ไม่ต้องเผยแพร่ ๓.ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล การดำเนินการทางวินัยไม่ร้ายแรง – องค์ประกอบของฐานความผิด การสืบสวน/สอบสวน การรับฟังพยานหลักฐาน การปรับฐานความผิด การเสนอโทษทางวินัย การรายงานสืบ/สอบสวน ที่มาของเรื่องร้อยเรียน/กล่าวหา ๑.จากบุคคลที่ร้องเรียน/กล่าวหา ๑.๑ บัตรสนเทห์ ๑.๒ หนังสือร้อยเรียน ๑.๓ สื่อสารมวลชน เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ๒. จากหน่วยงานอื่น เช่น ๒.๑ สตง./ปปช./ปปท./สำนักงาน ก.พ. ๒.๒ สำนักนายกรัฐมนตรี ๒.๓ ผู้ตรวจการแผ่นดิน ๒.๔ ศูนย์รับเรื่องร้อยเรียน/หน่วยงานต้นสังกัด ๒.๕ ตู้รับเรื่องร้อยเรียน/โทรศัพท์สายตรง การดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมินของเจ้าหน้าที่ สาระสำคัญของ พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมินของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑.เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ ๒.ความเสียหายเกิดจากการกระทำละเมิดของ เจ้าหน้าที่ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ราชการ ๓.กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐทำให้ทรัพย์ของรัฐเสียหาย ๔.กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก ๕.ความรับผิดของผู้กระทำละเมิด ๖.ถ้ามีผู้กระทำผิดหลายคนไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม ๗.ผู้ที่ต้องรับผิดชอบ ขอผ่อนชำระได้ ๘.ถ้าผู้กระทำผิดไม่สามารถชำระหนี้ได้ ให้หน่วยงานผ่อนผันตามความเหมาะสม ๙.กรณีเจ้าหน้าที่ผู้ต้องรับผิดชอบตาย ให้หน่วยงานฟ้องผู้จัดการมรดก ๑๐.กรณีการละเมิดมิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ให้ใช้กฎหมายแพ่งบังคับ การจัดการความขัดแย้งแบบบูรณาการ คือ คู่กรณีร่วมกันแก้ปัญหาและหาทางออกจนได้ความต้องการแท้จริงที่พึงพอใจ ไม่มีฝ่ายใดที่ได้ฝ่ายเดียวหรือเสียแต่เพียงฝ่ายเดียว ความขัดแย้ง คือ คนตั้งแต่สองคนขึ้นไป หรือกลุ่มคนตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไปที่เป้าหมายเข้ากันไม่ได้ การหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง มี ๘ วิธี ๑.แบบก้าวร้าว ๒.แบบตั้งรับ ๓.แบบก้าวร้าวเชิงตั้งรับ ๔.แบบหมดหวัง ๕.แบบใช้ตัวแทน ๖.แบบไม่ยอมรับ ๗.แบบยอมจำนน ๘.แบบแก้ปัญหาล่วงหน้า ระดับความรุนแรงความขัดแย้ง ความเห็นต่าง ยังไม่ถือว่าขัดแย้ง ความขัดแย้ง แบ่ง ๓ ระดับ ระดับแอบแฝง ระดับเริ่มปรากฏ ระดับปรากฏชัดเจน ข้อพิพาท กลายเป็นกรณีฟ้องร้องเมื่อฝ่ายหนึ่งไปเรียกร้อยความเสียหาย ความขัดแย้งไม่ใช่ความรุนแรงแต่เปลี่ยนเป็นความรุนแรงได้ “ถ้าจัดการไม่ถูกต้อง” หัวใจความสำคัญของการจัดการความขัดแย้ง คือ ต้องระลึกไว้เสมอว่าการจัดการความ ขัดแย้งเป็นสาขาวิชาหนึ่งที่มีขอบเขตเกินกว่าเรื่องการการเจรจาต่อรองและการ ไกล่เกลี่ยอันได้แก่ความสามารถในการสื่อสาร แนวทางในการไกล่เกลี่ยประนีประนอม – การสื่อสาร ควรให้ความสำคัญกับ การฟ้อง มากกว่า การพูด – ความสัมพันธ์ เป็นตัวกำหนดความสำเร็จ – ผลประโยชน์ / จุดยืน และความต้องการที่แท้จริง – ทางเลือก หรือ ทางออก วิธีการจัดการความขัดแย้งและผู้ตัดสินใจ – ความชอบธรรม คือ หลักความยุติธรรม และหลักการยอมรับ – ข้อผูกพันหรือข้อตกลง คือการไกล่เกลี่ยเมื่อได้ข้อตกลงแล้วควรสร้างข้อผูกมัดไว้ต่อกัน โดยแนะนำให้คู่กรณีทำสัญญาข้อตกลง หรือสัญญาประนีประนอมกันไว้


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
              มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดำเนินการ เรื่องข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ธรรมชาติของความขัดแย้ง แนวทางในการไกล่เกลี่ยประนีประนอม


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?
              มีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดำเนินการ เรื่องข้อมูลข่าวสารของทางราชการ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ธรรมชาติของความขัดแย้ง แนวทางในการไกล่เกลี่ยประนีประนอม

(381)

Comments are closed.