ยุทธศาสตร์ไอที 2020 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

ยุทธศาสตร์ไอที 2020 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

ยุทธศาสตร์ไอที 2020 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 (ICT 2020) เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันแบบ online
สร้างนวตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่21
ห้องเรียนกลับด้าน(flipped classroom)
การเรียนแบบผสมประสาน(blended classroom)
ชมคลิปวิดีโอ Bridging our future ห้องเรียนอัจฉริยะเกิดขึ้นได้รอบตัว ทุกที่ทุกเวลา สามารถค้นหาข้อมูลผ่นระบบonline ซึ่งต้องมีระบบเครือข่ายที่พร้อมต่อการสนับสนุนการเรียนรู้
คลิป a day made of glass เป็นรูปแบบวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปในศตวรรษที่ 21 โดยใช้เทคโนโลยี glass ให้เกิดประโยชน์ และคลิป a day made of glass2เกี่ยวกับวิถีชีวิตของวัยรุ่นในกรใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน และเทคโนโลยีทางการแพทย์
สิ่งประดิษฐ์สร้างนวตกรรมและต่อยอดนำไปใช้อย่างแพร่หลายจะกลายเป็นเทคโนโลยี
กระทรวงไอซีที ได้สร้างแฟรมเวิร์ค 2020(SMART Thailand 2020)

Smart hearth and smart learningนโยบายที่เกี่ยวข้อง สร้งทรัพยากรมนุษย์ให้มีความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต มี ICT literacyคือการใช้สารสนเทคอย่างมีวิจารณญาณ information literacy คือการกรองเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆอย่างชาญฉลาด media literacy คือการเลือกใช้สื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสม

การใช้ประโยชน์จาก Social media เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมสร้างสรรค์สินค้าและบริการและเรียนลัดในกระบวนการการสร้างนวตกรรม (โดยแนวทาง Open innovation)

21st century student outcome and support system

ผู้สอนต้องเตรียมสภาพการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สร้างสภาพการเรียนรู้แบบ online หรือสภาพการเรียนรู้แบบเสมือน ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการสื่อสารผ่าน ICT เช่น facebook, post group, video conference ทักษะในกรทำงานร่วมกันทั้งภายในและนอกสถานศึกษา

จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ (ไอสไตน์)

สื่อการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนยุคใหม่ Teaching and Learning media

Cloud Computingเป็นการจัดเก็บข้อมูลและประมวณผลแบบกลุ่มเมฆ เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่มีค่าใช้จ่ายแปรผันตรงตามจำนวนผู้ใช้ (ผู้ใช้มาก จ่ายมาก)

ใช้ googleapps for education โดยใช้เครื่องมือของ googleได้เลยโดยที่ต้องไม่ต้องซื้อซอร์ฟแวร์ เช่น การทำแบบสอบถามออนไลน์ การวิเคราะห์ข้อมูลออนไลน์ จะสามารถอัปเดตแบบ real time ได้ทันที ควรใช้ระบบของ googleมี app หลากหลายและไม่เสียค่าใช้จ่าย ข้อแนะนำควรใช้ username and password เดียวกันจะสามารถเข้าระบบต่างๆของgoogleได้หมดทุก app

Google Apps for Educationการใช้ฐานข้อมูลในgoogle map การใช้ microsofe office 365 จะเป็นการซื้อmicrosofe office รายเดือนของ google

Gen C Learnerลักษณะจำเพาะของ gen c ได้แก่ การแชร์เช็คอิน, การหาเพื่อนออนไลน์, taking a selfie, ถ่ายรูปอาหาร, ต้องใช้ app ไอคอนในการทำสิ่งต่างๆ เช่น ค้นหาข้อมูล เก็บข้อมูล

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย กระดาน smart board มี wifi wirless มี STML ในการปรับเปลี่ยนภาพหน้าจอให้เหมาะกับการใช้, Khanacademy (http://www.khanacademy.org/) ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลต่างๆโดยเฉพาะวิดีโอเพื่อการศึกษาจะมีคลิปการเรียนรู้หลากหลายที่ใช้ในการเรียนการสอนได้ เช่น ใน you tube หาคำว่า share และ embed แล้ว goppycode web หรือค้นหาคำว่า Embed แล้ว gop code ของวิดีโอนั้น ไม่ถือว่าเป็นละเมิดลิขสิทธิ์, AR : Augmented Reality

Social media landscape 2014 จัดอันดับยอดนิยม 1.facebook, 2.twitter, 3.google plus

You tube จะเป็นเทคโนโลยีที่สำคัญในปี 2014 ต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆ อยากรู้เรื่องอะไรผู้เรียนจะสามารถพิมพ์คำค้นหาข้อมูลได้ทันที ซึ่งจะมีคลิปในเรื่องที่ค้นหาที่หลากหลาย

Weblog  สามารถค้นหาข้อมูลได้จากGotoknow.org ศูนย์รวมข้อมูลความรู้ Researcher.in.th เป็นศูนย์รวมงานวิจัย (http://www.researchgate.net/literature..Literature.html) (https://www.academia.edu) ควรสมัครเป็นสมาชิกเพราะจะได้ข้อมูลงานวิจัยเป็นจำนวนมากทั้งภาษาไทยและอังกฤษ

Mahara (http://mahara.org), Joomla (http://www.joomla.org) ,Wordpress (http://www.wordpress.org), Wikipedia สารานุกรมออนไลน์ แต่เป็นข้อมูลที่นำมาใช้อ้างอิงไม่ได้ ต้องหาแหล่งที่มาว่าอ้างอิงที่ไหนแล้วเข้าไปใช้ในต้นฉบับที่อ้างอิงมา

Learning environment and Technology tools

สิ่งแรกคือต้องมีเป้าหมายในการเรียนรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้มีทักษะอะไร กิจกรรมเน้นให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็นและถ่ายทอดเป็น

Bloom’s taxonomy :เกณฑ์สูงสุดคือผู้เรียนต้องสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้ (creating)

21st century skills and literacies for ipads apps, windows apps, googleapps :จะมี app ต่างๆให้ใช้ตามความเหมาะสมต่อทักษะกรเรียนรู้ในแต่ละด้าน

การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21

สอนน้อยเรียนมาก ก้าวข้ามสาระวิชา ผู้เรียนบอกว่าอยากเรียนอะไร ร่วมมือ>แข่งขัน เรียนเป็นทีม>บุคคล เรียนโดยลงมือทำ : PBL มีการประเมินแนวใหม่ ไม่เน้นถูกผิด ประเมินเป็นทีม ข้อสอบไม่เป็นความลับ

Flipped Classroom

ศึกษาเนื้อหาที่บ้าน ใช้สื่อออนไลน์เข้าช่วย ทำการบ้านและกิจกรรมที่ห้องเรียน เน้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้แบบ Activity today (แบบเดิม คือ lecture today)

Concept of flipped classroom

1. Online for content

Solution online contents: to e-book, LMS, document (pdf/google docs), slideshare, streaming, online quiz

2. Face to face for meaningful activity ได้แก่

Youtube education (https://youtube.com/education)

From e-learning to open learning

Open Courseware เป็นระบบการเรียนรู้ที่ใครๆก็สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ เช่น การแชร์ power point ควรเข้าไปติด creative commons license เพื่อเป็นการสงวนลิขสิทธิ์

Open Education Resources : ODR เป็นการใช้สื่อคลิปวิดีโอที่ใครๆก็สามารถเข้าไปใช้ได้

Massive open online courses : MOOC เน้นการเรียนรู้ในวิชาหลักที่สามารถเรียนรู้ร่วมกันได้พร้อมกันหรือใช้สื่อเดียวกัน เรียนเหมือนกันได้ในหลายๆสถานศึกษาโดยมีหลายๆสถาบันที่เกี่ยวข้องมาร่วมกันสร้างเนื้อหาวิชา มีทั้งแบบที่เรียนฟรีและจ่ายเงิน หรือลงทะเบียนหรือไม่ลงทะเบียนก็ได้

โดยมี content คือ Udacity and Courseraเป็นข้อมูลที่คนสร้าง MOOC ต้องรู้

DOCC :มีองค์กรหลักเพียงองค์กรเดียวในการสร้างเนื้อหาวิชาและปล่อยให้สถาบันอื่นนำไปใช้ได้

Open Learning Community Tools : Moodle

Moodle MOOC เป็นการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ watch, listen, reflect, transpersonal, active learning

Blended learning :เป็นการเรียนผสมผสานระหว่างออนไลน์และ face to face

การเรียนผสมผสานแบบแนวตั้ง (50 : 50)

การเรียนผสมผสานแบบแนวนอน สามารถแบ่งรูปแบบการสอนได้ตามความเหมาะสม (50 : 50) อาจแบ่งรูปแบบการสอนของแต่ละชั่วโมงโดยคิดจากสัดส่วนหน่วยกิจ

การเลือกใช้แนวตั้งกับแนวนอนโดยดูจาก วินัยต่อการเรียนรู้ เช่น ปี1 จะเป็นแนวตั้ง หรือ แนวนอนแต่ช่วงแรกผู้สอนต้องพบผู้เรียนบ่อยๆเพื่อแนะแนวทางในการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเข้าใจและเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การสอนแบบ E-Learning ให้ประสบความสำเร็จ

1.การวิเคราะห์ต้องดู: ความต้องการ, ผู้เรียน, จุดประสงค์, เนื้อหา, บริบทที่เกี่ยวข้อง

2.การออกแบบการเรียนการสอน

3.การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้

4.การนำไปใช้ ลงมือสอน

5.การประเมินโดยประเมินจาก (E1 : 80) คือ ค่าร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนที่ทำแบบฝึกหัดระหว่างเรียนแต่ละหน่วย และ (E2 : 80) คือ ค่าร้อยละคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนที่ทำแบบทดสอบหลังกรเรียนเมื่อเรียนครบทุกหน่วย

การนำสื่ออิเล็กโทรนิกส์ไปใช้

1.สื่อหลัก ใช้แทนที่การบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดผ่านสื่อ

2.สื่อเติมผู้สอนออกแบบเนื้อหาให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาในสื่อเติม

3.สื่อเสริม เป็นการเรียนที่ให้ผู้เรียนไปค้นคว้าข้อมูลจากสื่ออิเล็กโทรนิกส์อื่นๆ

จากการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาการเรียนการสอนแบบ E-Learning 3-7 พ.ย. 2557  ณ วสส.ชลบุรี : จิตฤดี  รอดการทุกข์ (1156)

Comments are closed.