หลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”

หลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี”

การอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศข้าราชการใหม่ “หลักสูตรการเป็นข้าราชการที่ดี” ประกอบด้วย
การเข้าค่าย ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ จังหวัดนครนายก
การบรรยาย/อภิปราย ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี
การศึกษาดูงาน Read the rest of this entry (1106)

การจัดทำแผนกลยุทธ์ สบช.2559-2561 ระยะที่ 2

การจัดทำแผนกลยุทธ์ สบช.2559-2561 ระยะที่ 2

ตัวชี้วัดและมาตรการในแต่ละยุทธศาสตร์ของพระบรมราชชนก ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑

ยุทธศาสตร์

    ปัจจัยความสำเร็จ     (Critical Success Factor)

      ดัชนีวัดผลงานหลัก       (Key Performance Indicator)

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

หน่วยนับ

2559

2560

2561

1. ผลิตบัณฑิตคุณภาพสูงสู่สังคมและพัฒนาบุคลากรด้านสุขภาพมืออาชีพ 1.1 มีหลักสูตรด้านสุขภาพที่เปิดสอนหลากหลายสาขาตรงกับความต้องการของระบบสุขภาพของประเทศ 1. จำนวนหลักสูตรที่เปิดสอนเพิ่มขึ้น 1) ร้อยละของหลักสูตรการศึกษาและฝึกอบรมตรงตามความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้ของประเทศ

หลักสูตร

100

100

100

1. จัดทำ Need Assessment และประเมินผล
1.2 มีหลักสูตรที่พัฒนาด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. จำนวนหลักสูตรการอบรมที่เปิดสอนเพิ่มขึ้น 2) ร้อยละของหลักสูตรที่เปิดตรงความต้องการของผู้เรียนและผู้ใช้

หลักสูตร

100

100

100

2. พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
  3) จำนวนหลักสูตร ฝึกอบรมระยะสั้น (1-4 เดือน) เปิดใหม่อย่างน้อย 6 หลักสูตรใน 3 ปี

หลักสูตร

2

4

6

1.3 ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศและสากล 1. ร้อยละของจำนวนผู้ใช้มีความพึงพอใจ การปฏิบัติงานของผู้สำเร็จการศึกษาในระดับดี 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละเขตบริการ

ร้อยละ

90

90

90

1. พัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อรองรับการพัฒนาอัตลักษณ์และสมรรถนะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21
3. เพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตและพัฒนาบุคลากรของหน่วยผลิตและพัฒนา
2. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษามีงานทำภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา 2) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

ร้อยละ

80

80

80

4. จัดตั้งหน่วยงานจัดหางานและลูกค้าสัมพันธ์
3. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา สอบผ่านการขึ้นทะเบียนในการประกอบวิชาชีพ/ ผ่านข้อสอบมาตรฐานในครั้งแรก 3) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

ร้อยละ

90

90

90

5. เตรียมการสอบให้นักศึกษา
4. ร้อยละของจำนวนผู้สำเร็จการศึกษามีความสามารถใช้ภาษาอังกฤษ ในการศึกษาได้ในระดับดี 4) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

ร้อยละ

80 80 80 6. พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่เน้นการสื่อสาร
1.4 ผู้สำเร็จการศึกษามีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านชุมชน 1. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษามีผลการประเมินความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพในระดับดี 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละ

ร้อยละ

100

100

100

1. พัฒนาการเรียนการสอนที่เน้นชุมชน
1.5  ผู้สำเร็จการศึกษามี      อัตลักษณ์ที่พึงประสงค์ 1. ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษามีอัตลักษณ์ที่พึงประสงค์ 1) ร้อยละ

ร้อยละ

80

80

80

2. พัฒนาการเรียนการสอนที่ส่งเสริมอัตลักษณ์
1.6 มีการให้บริการวิชาการด้านสุขภาพที่มีคุณค่าชุมชนและสังคม 1. วิทยาลัยมีการกำหนดให้อาจารย์ปฏิบัติตามงานตามเกณฑ์ภาระงานด้านการบริการวิชาการแก่สังคม 1) ร้อยละของวิทยาลัย

ร้อยละ

100

100

100

1. พัฒนากิจกรรมบริการวิชาการให้เกิดคุณค่าต่อชุมชนและสถาบันฯ                    2. กำหนดภาระงานของอาจารย์ด้านการพัฒนาบุคลากร
2. วิทยาลัยมีการนำผลการให้บริการวิชาการแก่สังคม ไปใช้ในการพิจารณาผลงานอาจารย์เป็นรายบุคคล  2) ร้อยละองวิทยาลัย

ร้อยละ

100

100

100

3. สร้างแรงจูงใจให้อาจารย์ที่ทำผลงานด้านบริการวิชาการสู่ชุมชน
1.7 มีหลักสูตรที่เปิดสอนหลากหลายระดับ และสาขาเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาไปยังกลุ่มเป้าหมายใหม่ทั้งในประเทศ และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน 1. จำนวนหลักสูตรการศึกษาที่เปิดสอนเพิ่มขึ้น 1) จำนวนหลักสูตรการศึกษาเปิดใหม่ไม่น้อยกว่า 3 สาขา ภายใน 3 ปี

หลักสูตร

1

2

3

1. ศึกษา วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้บริการและตลาดแรงงาน เพื่อวางแผนการจัดการศึกษา และฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการ
2. จำนวนหลักสูตรการฝึกอบรมที่จัดเพิ่มขึ้น 2) จำนวนหลักสูตรการอบรมเปิดใหม่ไม่น้อยกว่า 5 สาขาภายใน 3 ปี

หลักสูตร

3

4

5

2. จัดทำหลักสูตรการศึกษาสาขาใหม่
3. จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมสาขาใหม่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

   ปัจจัยความสำเร็จ     (Critical Success Factor)

        ดัชนีวัดผลงานหลัก         (Key Performance Indicator)

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

หน่วยนับ

2559

2560

2561

2. พัฒนานโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการผลิตและพัฒนาฯกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศ 2.1 มีแผนยุทธศาสตร์ด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศที่มีประสิทธิภาพ 1. ร้อยละ ของเขตบริการสุขภาพมีแผนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากำลังคน 1) ร้อยละของเขตสุขภาพ

ร้อยละ

100

100

100

1. สนับสนุนให้มีการพัฒนาเขตบริการสุขภาพให้มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กำลังคน
2.2 นโยบายด้านการผลิตกำลังคนได้นำไปสู่การปฏิบัติ 2. จำนวนนโยบายด้านการผลิตที่ได้รับการพัฒนาสู่การปฏิบัติ 2) จำนวนเรื่องของนโยบายด้านการผลิต

เรื่อง

1

1

1

2. ศึกษาการวิเคราะห์สังเคราะห์สถานการณ์กำลังคนและพัฒนาสู่ข้อเสนอเชิงนโยบายในการผลิตและพัฒนาบุคลากรสุขภาพของประเทศ
2.3 กำลังคนด้านสุขภาพมีอัตราที่เพียงพอและบุคลากรสมรรถนะที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้ 3. แผนการผลิตตรงตามความต้องการในด้านจำนวนและหลักสูตรที่ผลิตและพัฒนา 3) มีแผนการผลิตที่ระบุหลักสูตรและจำนวนการผลิตที่เพียงพอ

จำนวน

 

1

 

1

 

1

 

3. จัดทำแผนผลิตที่มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมดำเนินการ
4. สร้างเครือข่ายนักวิจัยด้านกำลังคน

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

  ปัจจัยความสำเร็จ  (Critical Success Factor)

        ดัชนีวัดผลงานหลัก         (Key Performance Indicator)

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

หน่วยนับ

2559

2560

2561

3. พัฒนาองค์กรสู่องค์กรสมรรถนะสูงให้เป็นมืออาชีพ ในการจัดการศึกษาที่มีขีดความสามารถในการพึ่งตนเอง 

 

3.1 มีโครงการองค์กรและระบบการบริหารจัดการ ภารกิจทุกด้านที่มีประสิทธิภาพ 1. ออกแบบโครงการสร้างองค์กรที่มีความอิสระคล่องตัว และมีระบบการจัดการที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ และอิสระ คล่องตัวในการปฏิบัติภารกิจ 1) สถาบันพระบรมราชชนก

แห่ง

1

1

1

1. เร่งรัดการออกแบบโครงการสร้างองค์กร แลเริ่มใช้โครงสร้างใหม่ภายใน 2 ปี หลัง พ.ร.บ.ประกาศใช้
2. ร้อยละของผลงานบรรลุเป้าหมาย แผนงาน/โครงการ 2) ร้อยละในแต่ละปี แผนงาน/โครงการ

100

100

100

2. ใช้มาตรการเร่งรัด ติดตามกับและประเมินผลงานอย่างต่อเนื่อง
3.2 บุคลากรมีศักยภาพในการปฏิบัติงาน 1. ผู้บริหารได้รับการพัฒนาทักษะการบริหารงานแบบมืออาชีพ 1) ร้อยละของผู้บริหารภายใน                3 ปี ร้อยละ

60

80

100

3. มีระบบการพัฒนาผู้บริหาร และเตรียมผู้ที่จะเข้าสู่ตำแหน่งบริหารทุกระดับ ให้มีทักษะการทำงานอย่างมืออาชีพ
2. ร้อยละของจำนวนอาจารย์มีวุฒิตรงตามสาขาที่สอน 2) ร้อยละภายใน 3 ปี

ร้อยละ

60

70

80

4. สนับสนุนการศึกษาต่อ หรือ ฝึกอบรมในสาขาที่มีความต้องการ และความตรงตามสาขาที่
3) อาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีวุฒิปริญญาเอก 3) ร้อยละของอาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอก

ร้อยละ

12

14

15

5. สนับสนุนการศึกษาต่อปริญญาเอกในประเทศ 
6. พัฒนาภาษาอังกฤษให้แก่ผู้ที่มีศักยภาพไปศึกษาคือต่างประเทศ
7. ปรับระบบการคัดเลือกผู้รับทุนให้มีความยืดหยุ่นสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานและผู้รับทุน เพื่อให้ได้ผู้รับทุนตามแผน
4. มีจำนวนอาจารย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) อัตราส่วนอาจารย์ต่อจำนวนนักศึกษาไม่มากกว่า1:8 ภายใน 3 ปี

คน

1:10:05

1:10

1:09:05

8. จ้างอาจารย์ใหม่โดยจัดระบบ เพิ่มแรงจูงใจ และมีบันไดวิชาชีพ (career path)
5. ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุน มีวุฒิตรงตามงานที่รับผิดชอบ 5) ร้อยละภายใน 3 ปี

คน

60 70 80 9. สนับสนุนการลาศึกษาต่อ
6. มีจำนวนบุคลากรสายสนับสนุนเพียงพอกับความต้องการ 6) ร้อยละของกรอบภายใน 3 ปี

ร้อยละ

80

90

100

10. ส่งเสริมบุคลากรสายสนับสนุนให้มีโอกาสศึกษา/พัฒนาเพื่อคุณวุฒิให้ตรงตามงานที่รับผิดชอบ
3.3 มีวัฒนธรรมองค์กรบุคลากรยึดถือร่วมกัน 1. วัฒนธรรมมีการประกาศใช้และบุคลากรนำไปปฏิบัติ 1) ความพึงพอใจต่อวัฒนธรรมองค์กร2) ดัชนีความสุข

ระดับ

ปานกลาง

ดี

ดีมาก

11 จ้างบุคลากรเพิ่มโดยจัดระบบเพิ่มแรงจูงใจ และบันไดวิชาชีพ
3.4 มีการจัดการศึกษาที่มีมาตรฐานทันสมัยเข้าถึงผู้เรียน 1. จำนวนวิทยาลัยที่ผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก สมศ.และรักษาสภาพไว้ได้ 1) วิทยาลัยทุกแห่งผ่านการประเมิน ภายในระยะเวลาการประเมินของ สมศ.

แห่ง

39

39

39

12. รักษาระบบให้คุณภาพตามเกณฑ์
2. จำนวนวิทยาลัยและวิทยาลัยนักสาธารณสุขที่มีหลักสูตร/วิธีการ/ จัดการเรียนการสอนแบบ E-learning/ ภาคพิเศษ/ อกระบบ/ ตามอัธยาศัย 2) วิทยาลัยทุกแห่งและวิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุขภายใน 5 ปี

แห่ง

8

16

24

13. สนับสนุนงบประมาณการจัดนวัตกรรมการเรียนการสอน
3.5 มีระบบบริหารงานบุคคลที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ 1. แผนอัตรากำลังพนักงานของสถาบันเพื่อรองรับโครงการสร้างใหม่ 1) มีแผนอัตรากำลังพนักงานของสถาบันภายใน 2 ปี

สถาบัน

1

1

14. เร่งรัดการจัดทำแผนอัตรากำลังของสถาบันรองรับการเป็นหน่วยงานในกำกับตาม พรบ.
2. ระบบบริหารงานบุคคลที่สร้างแรงจูงใจ โปร่งใสตรวจสอบได้ 2) มีระบบบริหารบุคคลของสถาบันภายใน 2 ปี

สถาบัน

1

1

15. เร่งดำเนินการจัดทำระบบบริหารงานบุคคลของสถาบันให้สอดคล้องกับบทเฉพาะกาล
3.6 มีระบบบริหารงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ 1. อัตราส่วนการส่วนของ Current Ratio 1) อัตราส่วนมากกว่า 1

ส่วน

1

1

1

2. นำระบบการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์มาใช้ 2) สถาบันพระบรมราชชนกภายใน 2 ปี

สถาบัน

1

1

1

16. ใช้แผนยุทธ์ศาสตร์ และแผนปฏิบัติการเป็นเครื่องมือในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
17. จัดทำประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ในการดำเนินภารกิจด้านการผลิต พัฒนาบุคลากร ฯลฯ
3.7 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยและเชื่อมโยงทั้งภายในนอกสถาบัน 1. สร้างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยและเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก 1) ทุกหน่วยงานภายใน 2 ปี

แห่ง

20

21

41

18. จัดให้มีอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยพร้อมทั้งมีผู้ดูแลบริหารจัดการระบบ
2. มีฐานข้อมูลสารสนเทศ ที่ทันสมัยตรงกับการใช้งาน 2) ฐานข้อมูลกลางของสถาบันภายใน 2 ปี

สถาบัน

1

1

1

19. จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริการ
3.8 การให้บริการวิชาการแก่สังคมที่สามารถให้การสร้างรายได้ให้สถาบัน 3. จำนวนบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญรับผิดชอบงานด้านสารสนเทศเทคโนโลยี                 4. มีระบบห้องสมุดทีทันสมัยเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอกสถาบัน 3) จำนวนบุคลากรส่วนน้อย 2 แห่ง (เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือโปรแกรมเมอร์หรือ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลครบทุกหน่วยงานภายใน 3 ปี

แห่ง

20. เร่งพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่เดิมหรือจัดหาบุคลากรเพิ่มให้เพียงพอ
4) จำนวนหน่วยงานที่มีระบบห้องสมุดที่ทันสมัยเชื่อมโยงและมีผู้ดูแลระบบ

แห่ง

3.9 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพสร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน 1. ร้อยละของกิจกรรม/ โครงการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน สุขภาพที่สร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน (เอื้อประโยชน์หรือสนับสนุนงานวิชาการของสถาบัน) 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

ร้อยละ

50

50

50

3.10 ผู้รับบริการวิชาการด้านสุขภาพมีความพึงพอใจในบริการ 1.) ร้อยละของจำนวนผู้รับบริการวิชาการด้านสุขภาพมีความ พึงพอใจในบริการระดับดี 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

ร้อยละ

80

80

80

1. จัดทำระบบประเมิน
3.11 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเห็นความสำคัญของการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านสุขภาพที่สถาบันดำเนินการ 1. ร้อยละของจำนวนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละกลุ่มต่อไปนี้มีความเห็นว่ามีประโยชน์/ คุณค่า 1) ไม่น้อยกว่าร้อยละของในแต่ละปี

คน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

ปัจจัยความสำเร็จ                  (Critical Success Factor)

ดัชนีวัดผลงานหลัก               (Key Performance Indicator)

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

หน่วยนับ

2559

2560

2561

4. ศึกษาวิจัย สร้างองค์ความรู้สู่ชุมชนสุขภาวะที่ยั่งยืน 

 

 

 

4.1 มีปัจจัยเอื้อต่อการผลิตผลงานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ 

 

1. มีกำหนดให้อาจารย์ปฏิบัติงานตามเกณฑ์ภาระงานด้านการวิจัย 1) วิทยาลัยทุกแห่ง

แห่ง

39

39

39

1. กำหนดภาระงานของอาจารย์ด้านการวิจัย
2. ร้อยละของจำนวนอาจารย์ที่ได้รับการพัฒนาความรู้ด้านการวิจัย 2) ร้อยละในแต่ละปี

ร้อยละ

20

20

20

2. สนับสนุนให้อาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญ
3. มีการนำผลงานวิจัยไปใช้ในการพิจารณาผลงานอาจารย์เป็นราย 3) วิทยาลัยทุกแห่ง

แห่ง

39

39

39

3. กำหนดหลักแกณฑ์การพิจารณาผลงานของอาจารย์
4. จำนวนเงินสนับสนุนให้แต่ละวิทยาลัยดำเนินงานวิจัย 4) งบประมาณเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 8,000/ คน/ ปี

บาท/ คน

8,000

8,000

8,000

4. สนับสนุนงบประมาณสำหรับงานวิจัยอย่างเพียงพอ
4.2 อาจารย์มีผลงานวิจัย ที่มีประโยชน์ต่อการ จัดการศึกษาและ การพัฒนาระบบสุขภาพ 1. ร้อยละของจำนวนผลงานวิจัยต่อจำนวนอาจารย์ 1.) ร้อยละของจำนวนอาจารย์ภายใน 3 ปี

ร้อยละ

10

15

20

5. สนับสนุนงบประมาณเพื่อการเผยแพร่ผลงานทั้งในและต่างประเทศ
2. ร้อยละของผลงานวิจัยที่ได้รับการพิมพ์เผยแพร่ หรือนำเสนอในที่ประชุมระดับชาติ/ นานาชาติ 2.) ร้อยละของผลงานวิจัย

ร้อยละ

100

100

100

6. สร้างนักวิจัยหน้าใหม่
4.3 ผลงานวิจัยของอาจารย์ถูกนำไปใช้ประโยชน์/ อ้างอิงในด้านการศึกษาและระบบสุขภาพ 1. ร้อยละของจำนวนผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์/ อ้างอิงในด้านการศึกษาและระบบสุขภาพ 1.) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนผลงานวิจัย

ร้อยละ

80

80

80

7. ส่งเสริมการวิจัยที่ตอบสนองการพัฒนาการศึกษา/ บัณฑิตการบริการวิชาชีพและการพัฒนาระบบสุขภาพ
4.4 มีคลังความรู้ทางสุขภาพที่เป็นที่พึ่งทางวิชาการแก่สังคมวิชาชีพ ชุมชน และสถานบริการในระดับเขตและประเทศ 2. จำนวนคลังความรู้ 2.) วิทยาลัยทุกแห่ง

ร้อยละ

39

39

39

 

 

ยุทธศาสตร์

 ปัจจัยความสำเร็จ       (Critical Success Factor)

    ดัชนีวัดผลงานหลัก              (Key Performance Indicator)

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

หน่วยนับ

2559

2560

2561

5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการผลิตพัฒนากำลังคนเพื่อตอบสนองระบบบริการสุขภาพ 

 

5.1 แสวงหาความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกทั้งในและต่างประเทศ 1. มีโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นเพิ่มขึ้น 1) มีความร่วมมือเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 หน่วยงานภายใน 3 ปี

หน่วยงาน

1

2

3

1. ผู้บริหารเดินทางไปแสวงหาความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ
2. จำนวน MOU เพิ่มขึ้น 2. จัดให้มีเวทีพบปะแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ผลิตและผู้ใช้
5.2 สร้างความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน 3. จำนวนครั้งของการจัดเวทีวิชาการ 2. จำนวนครั้งของการจัดเวทีแลกเปลี่ยนระดับประเทศ อย่างน้อย 3 ครั้ง

ครั้ง

1

2

3

3. จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการทั้งระดับประเทศและนานาชาติ
5.3 แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ 3. จำนวนครั้งของการจัดเวทีแลกเปลี่ยนระดับนานาชาติอย่างน้อย 3 ครั้ง

ครั้ง

1

2

3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

      ปัจจัยความสำเร็จ   

    ดัชนีวัดผลงานหลัก       

เกณฑ์ตัวชี้วัดผลงาน

เป้าหมายผลงาน

มาตรการ

(Critical Success Factor)

 (Key Performance Indicator)

หน่วยนับ

2559

2560

2561

6. เร่งรัดการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์องค์กรให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล 6.1 สถาบันเป็นที่รู้จักทั้งในประเทศและอาเซียน 1. จำนวนนักศึกษาที่สมัครเรียนเพิ่มขึ้น 1) เพิ่มขึ้นร้อยละ / ปี

ร้อยละ

10

10

10

1. จัดให้มีโครงสร้างและทีมงานนักสื่อสารประชาสัมพันธ์ของสถาบัน และวิทยาลัย
2. จำนวนผู้รับบริการด้านการพัฒนาบุคลากรเพิ่มขึ้น 2) เพิ่มขึ้นร้อยละ / ปี

ร้อยละ

10

10

10

2. จัดทำแผนประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดยใช้ช่องทางประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย
3. จำนวนผู้มารับบริการด้านวิชาการเพิ่มขึ้น 3) เพิ่มขึ้นร้อยละ / ปี

ร้อยละ

10

10

10

3. จ้างนักประชาสัมพันธ์มืออาชีพเพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สถาบันให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางทั้งใน และต่างประเทศ
4. มีโครงสร้างของหน่วยประชาสัมพันธ์ และผู้รับผิดชอบงานการประชาสัมพันธ์ 4) หน่วยประชาสัมพันธ์

หน่วย

1

1

1

4.จัดงบประมาณสนับสนุนอย่างเพียงพอ
5. จำนวนสื่อประชาสัมพันธ์ที่จัดทำและเผยแพร่ 5) เรื่องต่อปี

เรื่อง

10

10

10

5. สร้างระบบและกลไกการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ เพื่อเสนอผลผลิตที่แตกต่างและมีอัตลักษณ์และที่ยอมรับในระดับสากล(Brand)

 

สรุปจากการ ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำร่างแผนกลยุทธ์ 19 – 20    มีนาคม    2558  ณ  โรงแรมริเวอร์ไรน์ เพลส อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โดย นายอาทิตย์  ภูมิสวัสดิ์

 

(450)

Google for Education

Google for Education

Google for Education เป็นแอพพลิเคชั่นที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน โดยมีแอพพลิเคชั่นที่น่าสนใจดังนี้

GMail            เก็บทุกๆสิ่งและช่วยให้การค้นหารวดเร็วขึ้นด้วยฟังก์ชั่นsearch
Hangout        IM และ video chat ง่ายขึ้นผ่านทางอีเมล
Groups          ร่วมสร้างสรรค์และทำงานเป็นทีมง่ายขึ้น
Calendar       แบ่งปันตารางเวลาและปฏิทินได้อย่างสะดวกและทันที
Drive            ร่วมสร้างสรรค์งานร่วมกันได้แบบทันที
Sites             สร้างและจัดการ sites ของตัวเองได้

Read the rest of this entry (644)

Global Health Collaboration

Global Health Collaboration

Course overview

  • งานวิเทศน์เกี่ยวอะไรกับ global health
  • งานของเราเกี่ยวกับ global health collaboration อย่างไร
  • ความคาดหวัง
    • แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้
    • อยากทราบขอบข่ายงานวิเทศน์สัมพันธ์
    • การทำ MOU ที่ดี/การถอดบทเรียนการทำ MOU ที่ดี
    • นโยบายทิศทางองค์กร และทิศทางของโลก
    • แลกเปลี่ยนประสบการณ์ MOU Read the rest of this entry

(1216)

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation delivery )

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation delivery )

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Simulation delivery )
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสถานการณ์จำลองเสมือนจริงประกอบด้วย ๓ กิจกรรม ดังนี้
๑.  ขั้นนำ (Pre – Brief)  ๒๐ นาที ถามถึงความคาดหวัง บทบาท สิ่งแวดล้อม เครื่องมือ ครูเล่าประสบการณ์ตนเอง
๒.  ขั้นการปฏิบัติตามสถานการณ์ (Simulationหรือ Scenario/Observation) ๓๐ นาที  การปฏิบัติตามที่มีในสถานการณ์
๓.  ขั้นประเมินการเรียนรู้  (Debrief)  ๒๐ นาที การประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้ง ๓ ระยะ (๖ PA) ปัจจัยของบุคคล Read the rest of this entry

(1923)