การบริหารจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำส่วนราชการ

การบริหารจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำส่วนราชการ
ผู้บันทึก :  นางปวันณัฐ จันทร์ภักดี
  กลุ่มงาน :  งานบริหารทั่วไป
  ฝ่าย :  ฝ่ายบริหาร
  ประเภทการปฎิบัติงาน :  ประชุม
  เมื่อวันที่ : 25 มิ.ย. 2553   ถึงวันที่  : 25 มิ.ย. 2553
  หน่วยงาน/สถาบันที่จัด :  กลุ่มบริหารงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุข
  จังหวัด :  นนทบุรี
  เรื่อง/หลักสูตร :  การบริหารจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำส่วนราชการ
  วันที่บันทึก  15 ก.พ. 2554

 รายละเอียด
               ๑.๑ ด้านเนื้อหาสาระ การบริหารจัดการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำส่วนราชการ ส่วนที่ ๑ ระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำในปัจจุบัน มี ๗ หมวด และ ๑ กลุ่ม ๑. หมวดแรงงาน ๒. หมวดกลุ่มฝีมือ ๓. หมวดฝีมือ ๔. หมวดฝีมือพิเศษระดับต้น ๕. หมวดฝีมือพิเศษระดับกลาง ๖. หมวดฝีมือพิเศษระดับสูง ๗ หมวดฝีมือพิเศษเฉพาะ ๘. กลุ่มชื่อ/ลักษณะงานเหมือนข้าราชการ จำนวนสายงานของลูกจ้างประจำ รวมทั้งหมด ๑,๒๖๘ สายงาน จำนวนลูกจ้างประจำ จำนวนตามหมวด รวม ๑๖๘,๖๗๕ คน ส่วนที่ ๒ การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ ๑.กลุ่มงานบริการพื้นฐาน -สายงานด้านพื้นฐานทั่วไปและสถานที่ -สายงานด้านการเกษตร -สายงานด้านงานเรือ -สายงานด้านการเขียน การพิมพ์ และเอกสารข้อมูล -สายงานอื่น ๒.กลุ่มงานสนับสนุน -สายงานด้านการเงิน ธุรการและการพิมพ์ -สายงานด้านข้อมูล สถิติ วิจัยและการศึกษา -สายงานด้านการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ การสอน และการแสดง -สายงานด้านการสาธารณสุข -สายงานด้านการเกษตร ทรัพยากร วิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรม -สายงานด้านงานเรือ -สายงานเฉพาะในพระราชฐาน -สายงานด้านการป้องกัน ปราบปราม และความปลอดภัย -สายงานอื่น ๓.กลุ่มงานช่าง -สายงานด้านแบบและแผนที่ -สายงานด้านไฟฟ้า สื่อสาร และอิเลคทรอนิคส์ -สายงานด้านการก่อสร้าง เครื่องยนต์ เครื่องกล และโลหะกรรม -สายงานด้านการต่อเรือและเครื่องเรือ -สายด้านขับเครื่องจักรกลและล้อเลื่อน -สายงานด้านอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และแหล่งน้ำ -สายงานด้านศิลปวัตถุ หัตถกรรม และงานฝีมือ -สายงานด้านการสอนงานช่าง -สายงานอื่น ๔.กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ -สายงานด้านศิลปหัตถกรรมไทย -สายงานด้านเครื่องกล -สายงานด้านการบิน กลุ่มงานบริการพื้นฐาน (บ.๑-๒) /หน. ให้บริการเป็นหลักหรือเป็นงานพื้นฐานทั่วไป กลุ่มงานสนับสนุน (ส.๑-๔)/หน. ช่วยปฏิบัติหรือสนับสนุนผู้ปฏิบัติภารกิจหลัก กลุ่มงานช่าง (ช.๑-๔)/หน ปฏิบัติงานช่างในการสร้างใช้ซ่อม ประกอบ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ (ท.๑-๓)/หน ปฏิบัติงานที่ต้องใช้เทคนิคพิเศษ ผลของการพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่ ๑. ทางก้าวหน้าชัดเจนยิ่งขึ้น ๒. มีโอกาสเลื่อนสูชั้นงาน/ตำแหน่งที่สูงขึ้น ๓. มีแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองเพื่อก้าวสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ๔. มีโอกาสได้รับค่าตอบแทนสูงขึ้น ๕. เกิดความเป็นธรรม/ไม่ลักลั่นในการบริหารงานบุคคล ส่วนที่ ๓ การปรับตำแหน่งลูกจ้างประจำเข้าสู่ระบบใหม่ ตาม ว ๕/๒๕๔๗ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗ *มอบอำนาจให้ส่วนราชการบริหารอัตรากำลังลูกจ้างประจำเกี่ยวกับการปรับระดับ ตำแหน่ง การเปลี่ยนตำแหน่ง และการตัดโอนตำแหน่ง โดยจะต้องไม่เป็นการเพิ่มจำนวนลูกจ้างประจำ ตาม ว ๔/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ * ให้ส่วนราชการหยุดการดำเนินการเกี่ยวกับการปรับระดับตำแหน่ง เปลี่ยนตำแหน่ง และตัดโอนตำแหน่ง ซึ่งสำนักงาน ก.พ.ได้มอบอำนาจให้ส่วนราชการดำเนินการตาม ว ๕/๒๕๔๗ ตาม ว๑๔/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓ * แจ้งเวียนส่วนราชการให้ทราบถึงการจัดระบบตำแหน่งใหม่ประกอบด้วยเอกสารดังนี้ ๑. รายชื่อตำแหน่งลูกำจ้างประจำตามกลุ่ม ๒. หน้าที่โดยย่อ ๓. ตารางเปรียบเทียบตำแหน่งระบบใหม่กับระบบเดิม ตาม ว ๒๑/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๓ * มอบอำนาจให้ส่วนราชการบริหารอัตรากำลังลูกจ้างประจำเกี่ยวกับการปรับระดับ ตำแหน่ง การเปลี่ยนตำแหน่ง และการตัดโอนตำแหน่งได้ ภายหลังจาที่การจัดาตำแหน่งลูกจ้างประจำของส่วนนราชการตามระบบใหม่เสร็จ สมบูรณ์แล้ว


   ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงาน
              ๒.๑ด้านการนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้กับงาน ๒.๒ ด้านการนำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์


  ความรู้ที่จะนำไปพัฒนาต่อ ?
              มีความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดำเนินการ เรื่อง การพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำของทางราชการ และการจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำใหม่


(280)

Comments are closed.