การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รุ่นที่ ๑๒

การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รุ่นที่ ๑๒

แบบฟอร์มสำหรับส่งบทความเข้าคลังความรู้

 

วันที่บันทึก :  ๒๔  กันยายน ๒๕๕๗

ผู้บันทึกนางนิสากร จันทวี  นางสาวปิยะพร พรหมแก้ว นางสาววรนิภา  กรุงแก้ว และ นางสาวอรุณรัตน์ โยธินวัฒนบำรุง

กลุ่มงาน :  กลุ่มวิชาการพยาบาลพื้นฐานและพื้นฐานวิชาชีพ / กลุ่มวิชาการพยาบาลเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ และบริหารการพยาบาล

ประเภทการปฏิบัติงาน: ประชุม

วันที่   ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๒   กันยายน  ๒๕๕๗

หน่วยงาน/สถาบันที่จัด : ฝ่ายบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สถานที่จัด :   ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา

เรื่อง : การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รุ่นที่ ๑๒

รายละเอียด

๑.      ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากการอบรม/ประชุม/สัมมนา  ครั้งนี้

๑.๑ ด้านเนื้อหาสาระ

๑) ความก้าวหน้าในการดูแลผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ

๒) Early  warning  sign in critically ill and nursing care

๓) Oxygen Therapy

ข้อบ่งชี้ของการบำบัดด้วยออกซิเจน

๔) Airway  management

๕) Acid-Base  imbalance  and  ABG interpretation

๖) Respiratory  therapy in COPD, Asthma , ARDS

๗) การอ่านฟิล์มสำหรับพยาบาล

๘) Pulmonary  rehabilitation  in  mechanical  ventilation  patient

๙) มาตรฐาน ข้อควรระวังในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

๑๐) ICD and Tracheostomy care

๑๑) การพ่นยาในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

๑๒) Nasocomial  infection and control

๑๓) Type  and  mode  of  ventilation

๑๔) การหย่าเครื่องช่วยหายใจ

๑๕) การวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

      ๑.๒  สรุปเนื้อหาจากการเรียนรู้ด้านใด

R   วิชาการ

R  วิชาชีพ

๒.      ความรู้ที่ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานของตนเอง

๒.๑ ด้านการนำผลการพัฒนาไปประยุกต์ใช้กับงาน

การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาล โดยการเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนที่จะขึ้นฝึกปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยที่ต้องดูแลผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ  ผู้ป่วยที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ทั้งในหอผู้ป่วยสามัญแผนกอายุรกรรมและศัลยกรรม รวมทั้งหอผู้ป่วยหนักเพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องช่วยหายใจ โรคระบบทางเดินหายใจที่สำคัญ และข้อควรระวังในการใช้เครื่องช่วยหายใจในแต่ละโรค ตลอดถึงวิธีการบำบัดรักษาหรือทำหัตถการในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งจะได้นำความรู้และทักษะไปประเมินปัญหาของผู้ป่วยและช่วยแก้ปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้เครื่องช่วยหายใจและดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจให้มีประสิทธิภาพต่อไป

๒.๒  ด้านการนำผลการพัฒนาไปใช้ประโยชน์

R  การเรียนการสอนรายวิชาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติทางการพยาบาล

R  การพัฒนาบุคลากร

R การพัฒนานักศึกษา

๓. ด้านสมรรถนะ

๑)การพัฒนาคุณภาพอาจารย์ในด้านการจัดการเรียนการสอนเรื่องการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

๒) การพัฒนาผู้เรียนทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ทั้งในด้านความรู้เกี่ยวกับโรคหรืออาการของผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ , หลักการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ,การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้กับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

๔.ด้านอื่น ๆ  :  การสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ขณะให้การดูแลผู้ป่วยในระยะวิกฤต

 

  (767)

Comments are closed.